ລາວໂຮມລາວ ເພື່ອປະຊາທິປະໄຕ

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: ທະຫານລາວ ຈັບເຮືອດູດຊາຍໄທຍ ຮີດຄ່າໄຖ່ ກາງລຳນ້ຳຂອງ
Anonymous

Date:
ທະຫານລາວ ຈັບເຮືອດູດຊາຍໄທຍ ຮີດຄ່າໄຖ່ ກາງລຳນ້ຳຂອງ
Permalink   
 


ทหารลาว"จับลูกเรือไทย รีดค่าไถ่!กลาง"ลำน้ำโขง

1457698516_201603111842375-20041020145119.JPG1457698498_201603111842372-20041020145119.JPG

 เมื่อเวลา 15.30 น. วันที่ 11 มี.ค. ผู้สื่อข่าวรับแจ้งจากหน่วยงานความมั่นคงว่า เกิดเหตุทหารลาวจำนวนมาก จับลูกเรือดูดหินดูดทรายไว้เป็นตัวประกันนานหลายชั่วโมง  กลางแม่น้ำโขงในพื้นที่ อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม

จึงเดินทางไปตรวจสอบที่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขง บริเวณท่าทรายนำโชคสุนทร บ.ปากทวย หมู่ 5 ต.เวินพระบาท อ.ท่าอุเทน ตรงข้ามกับค่ายทหารลาว รอยต่อระหว่างบ้านบุ่ง-บ้านโพธิ์คำ ของฝั่งลาว พบเจ้าหน้าที่หน่วยชุดปฏิบัติการพิเศษ หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง (นรข.) ทหารพรานที่ 2108 กกล.สุรศักดิ์มนตรี อส.อ.ท่าอุเทน ฝ่ายปกครอง จำนวนกว่า 50 คน ในน้ำพบเรือเร็ว นรข.ตรวจการณ์ 2 ลำ ตรึงกำลังประชิดชายแดนฝั่งไทยไว้ โดยมีนายสมชาย วิทย์ดำรงค์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม พล.ร.ต.วราห์ แทนขำ ผบ.นรข. พร้อมด้วยนายรังสรรค์ คัมภิรานนท์ หน.สำนักงาน จ.นครพนม น.ส.กนกพร ไชยศล หน.กลุ่มยุทธศาสตร์การพัฒนา สนง.จังหวัดนครพนม และนายเชิดพันธ์ ผลวิเชียร ปลัดอำเภอ หน.ความมั่นคง รักษาการนายอำเภอท่าอุเทน เดินทางมาตรวจสอบยังจุดเกิดเหตุ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ห่างจากริมฝั่งแม่น้ำโขงประมาณ 1 กิโลเมตร พบเรือดูดหิน-ทรายสีฟ้าของท่าทรายนำโชคสุนทร 1 ลำ ยาวประมาณ 30 เมตร กว้าง 12 เมตร ลอยลำกลางแม่น้ำโขง ใกล้กับเกาะสันดอนที่ผุดขึ้นกลางน้ำ ในเรือตรวจพบทหารบ้านสัญชาติลาว 5 นาย ถืออาวุธปืนคุมเชิงท้ายเรือ จับลูกเรือชาวไทย 3 คนไว้ ห่างออกไปราว 1 กิโลเมตร ยังตรวจพบเรือดูดหิน-ทรายสีแดง ซึ่งเป็นลำที่สองของบริษัทสหรุ่งเรือง จำกัด ลอยลำใกล้กับฝั่งลาว ท้ายเรือยังพบทหารบ้านลาว 5 นาย พร้อมอาวุธปืนอาก้า หรือเอเค 47 ยืนคุมเชิงจับตัวประกัน 2 คนไว้ โดยเรือทั้งสองลาวที่ถูกยึดไว้จากการติดตามตรวจสอบทางกล้องส่องทางไกล พบว่าตัวประกันยังปลอดภัย ไม่ได้ถูกทำร้ายแต่อย่างใด

นายสมชาย กล่าวถึงเหตุการณ์ว่า เบื้องต้นได้รับทราบว่าเรือแต่ละลำจะมีลูกเรือ 3 คน โดยเรือลำแรกมีชายไทยอยู่บนเรือ 1 คน และลำที่สองมีชายไทย 2 คน ถูกทหารลาวควบคุมตัวลูกเรือไปไว้บนฝั่งลาว 2 คน ส่วนอีก 2 คนที่ถูกจับก่อนหน้านี้ จะได้ประสานงานกับฝ่ายต่างประเทศของแขวงคำม่วนต่อไป เพื่อจะขอรับลูกเรือกลับมายังประเทศไทย ส่วนตัวบุคคลที่ยังไม่ถูกปล่อยตัวมาอีก 3 คน ที่ถูกจับตัวไปจะได้ประสานงานระดับจังหวัดกับแขวง ตามข้อตกลงที่ทำร่วมกันมา

 ผวจ.นครพนม กล่าวต่อว่า เรือลำแรกถูกยึดและลูกเรือถูกจับตัวไปตั้งแต่ช่วงเวลา 08.00 น. ส่วนเรือลำที่สองถูกยึดเรือและลูกเรือถูกจับไปในเวลา 09.00 น. เบื้องต้นจึงใช้การเจรจาทางฝ่ายพลเรือนก่อน  ทราบว่ากลุ่มทหารที่จับตัวไปประสงค์ต้องการเรียกค่าปล่อยตัวลูกเรือ โดยลูกเรือลำสีแดงลำแรกเป็นเงิน 300,000 บาท ส่วนลำที่สองเรียก 500,000 บาท รวม 800,000 บาท

 นายสมชาย กล่าวต่อว่า ในการดูดหิน-ทรายในแม่น้ำโขง จะต้องดูดในที่ๆได้รับอนุญาต ผู้ประกอบการดูดทราย 2 บริษัท ยืนยันว่าดูดในบริเวณที่กำหนด เพียงแต่บริเวณกลางแม่น้ำใกล้จุดที่เรือทำการดูด ทางฝั่งลาวอาจเข้าใจว่าเป็นดินแดนของเขา ซึ่งเราก็ยืนยันว่าการตกลงในเรื่องเขตแดนต้องมีการเจราจรกันอีก หากเกิดปัญหาขึ้นอีกก็ไม่ควรใช้กำลังกัน

 ด้าน นายดนัยยศ เจริญสุข อายุ 26 ปี ลูกชายเจ้าของบริษัทนำโชคสุนทร กล่าวว่า เรือของตนลอยลำดูดหิน-ทราย ในบริเวณน่านน้ำฝั่งไทย  แต่ระหว่างเรือทำการดูดอาจจะก่ำกึ่งไปยังฝั่งประเทศเพื่อนบ้าน ก่อนที่ทหารลาวหรือชาวลาวเรียกทหารบ้าน ค่ายไฮหย่อง ตรงข้ามกับฝั่งไทยมาจับลูกเรือของตนไปเรียกเงิน และจับลูกเรือและยึดเรือเพื่อนผู้ประกอบการใกล้เคียงไปเรียกเงินลำแรก 3 แสนบาทต่อรองเหลือ 2 แสนบาท ส่วนลำที่สองของบริษัทตนเรียก 5 แสนต่อรองเหลือ 4 แสนบาท รวมกันเป็นเงิน 7 แสนบาท ซึ่งขณะนี้ทางจังหวัดกำลังเจรจากับฝ่ายต่างประเทศ เพื่อนำลูกเรือกลับคืนสู่มาตุภูมิต่อไป  

ผู้สื่อข่าวรายงานด้วยว่า ระหว่างเจรจาจ่อรองประสานงานกับฝ่ายต่างประเทศของแขวงคำม่วน เจ้าหน้าที่ตรวจพบเรือกีบติดเครื่องยนต์ 1 ลำ แล่นมาควบคุมชายลูกเรือดูดหินทรายลำสีแดง 1 คน  พร้อมรับทหารลาวมาด้วย 5 นาย ก่อนแล่นไปยังเรือลำสีฟ้ารับตัวชายไทยไปอีก 2 คน ก่อนแล่นไปยังฝั่งลาว ซึ่งเจ้าหน้าที่อยู่ระหว่างประสานเจรจานำตัวกลับมา

รายงานข่าวระบุด้วยว่า ก่อนหน้านี้มีเรือดูดทรายอีก 1 ลำของบริษัท ท่าทรายผ่ามวรรณวงศ์ ถูกยึดเรือไว้รวมแล้ว 3 ลำ ก่อนที่เจ้าของผู้ประกอบการเรือดูดทรายลำดังกล่าว จะนำเงินจำนวน 2 แสนบาท  ไปไถ่เรือและตัวประกันกลับคืนมาก่อนนี้แล้ว

 ล่าสุดเวลา 18.00 น. นายรังสรรค์  คัมภิรานนท์ หน.สนง.จังหวัดนครพนม ซึ่งปักหลักติดตามการเจรจาขอปล่อยลูกเรือ  แจ้งว่าทางทหารลาวปล่อยตัวชายไทย 2 คน กลับคืนสู่ฝั่งไทยเป็นที่เรียบร้อยแล้ว  หลังการเจรจาระหว่างจังหวัดกับแขวงประสบผลสำเร็จด้วยความชื่นมื่นทั้งสอง ฝ่าย โดยต่อรอง 2 คน เสียเงินค่าไถ่รวมกันเป็นเงิน 3 แสนบาท  ซึ่งบริษัทผู้ประกอบการเป็นคนจ่ายค่าไถ่ดังกล่าว

 



__________________
Anonymous

Date:
RE: ທະຫານລາວ ຈັບເຮືອດູດຊາຍໄທຍ ຮີດຄ່າໄຖ່ ກາງລຳນ້ຳຂອງ
Permalink   
 


ເວົ້າຫຍັງກະເບີ່ງເຫດຜົນແດ່ ແນວມາດູດຢູ່ຕິດເສັ້ນຊາຍແດນ ບາງຄັ້ງ

ກໍ່ລ່ວງລ້ຳເຂົ້າເຂດລາວ ເພື່ອຢາກໃຫ້ຫາດເບື້ອງໄທຢືດເຂົາມາ ຕາຝັ່ງລາວ

ເຈື່ອນລົງໄປ ທີ່ສຸດເສັ້ນຊາຍແດນກໍ່ຍ້າຍຕາມໄປ. ທະຫານມີໄວ້ປ້ອງກັນຊາດ

ມີໄວ້ເຮັດໜ້າທີ່ຮັກສາເຂດນ້ຳແດນດີນ, ເມື່ອເຫັນແນວນັນເຂົາກໍ່ຕ້ອງໄປສັ່ງໃຫ້ຢຸດ

ກັກໂຕໄວ້ເພື່ອສືບສວນແລ້ວກໍ່ສົ່ງມອບຄືນ ບໍ່ແມ່ນເຂົາກັກຮຽກຄ່າໄຖ່. ລອງໃຫ້

ຄົນລາວໄປເຮັດແບບນັ້ນຢູ່ເບື້ອງເຂົາເບີ່ງຄັນບໍ່ເຈິໜັກກວ່ານີ້ 100ເທົ່າ

 



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

Thai dredging vessels told to retreat from Lao side of the Mekong

The operators of Thai sand dredgers working in the Mekong River close to Khammuan province signed a document last week stating they would not continue to cross the border into Laos.

Deputy Head of the Khammuan provincial Administration Office, Mr Vannavong Vongphachan, told Vientiane Times on Tuesday that authorities had reported that Thai sand dredging vessels had crossed the Lao border in the middle of the river.

Local authorities cautioned the vessels three times, saying they should cross back into Thai territory, but they did not move.

According to the provincial authorities, Thai dredgers transgressed into the Lao side of the river, straying about 320m into Lao waters.

“The Thais returned home after signing a document stating they would not again dredge for sand on the Lao side of the river border,” Mr Vannavong said.

He pointed out that riverbank erosion was a risk if large quantities of sand were removed.

According to the Ministry of Public Works and Transport, the Mekong riverbank in Laos is increasingly being protected against erosion through the construction of embankments, with the work beginning in 2007 and 2008.

Scores of towns located all along the Mekong are now protected, just as in Vientiane. About 50 percent of the riverbank has been shored up against erosion.

The government pays for the construction of embankments in accordance with the extent of erosion that has already occurred.

In towns, riverbanks are shored up with concrete embankments, but in less populated areas rocks are dumped alongside the riverbank. The piles of rocks cause the water to change the direction of flow so that it doesn't rush forcefully around the river's edge.

Ministry officials are calculating the area of land that has been protected from erosion and say many square kilometres of land along the Mekong have been saved.

The ministry estimates that since 1975 more than 80 square kilometres of land have gradually fallen into the river as there was only limited riverbank protection for much of this time.

The Mekong River floods perennially during the rainy season around July and August on its way through Laos, Thailand, Cambodia, and Vietnam. Erosion often occurs in the rainy season when the river flows fast, and large sections of riverbank can collapse quite suddenly.

 

By Times Reporters
(Latest Update March 16, 2016)



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

ນີ້ເປັນຄວາມໂງ່ຂອງຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອງທີ່ບໍ່ພາກັນທວງຖາມສົນທິສັນຍາວ່າດ້ວຍແມ່ນຳ້ຂອງທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງ

ເຊັນສັນຍາກັນວ່າແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ, ດອນທຸກດອນໃນແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ ໄທບໍ່ມີສິດຮຽກຮ້ອງຫຼືອ້າງ

ອິງວ່າເກາະໃດເກາະນຶ່ງເປັນຂອງໄທ ແລະຄົນໄທບໍ່ມີສິດມາເຮັດສວນຫຼືປູຝັງຢູ່ເທິງເກາະກາງແມ່ຂອງເດັດຂາດ ເຖິງວ່າ

ຍາມແລ້ງນຳຫຼົດລົງເກາະຫຼືດອນນັ້ນໆຈະບໍ່ມີສາຍນ້ຳໄຫຼຜ່ານຫຼືເປັນຫາດຊາຍຕິດເຂົ້າໄປເຖິງຝັ່ງໄທກໍຕາມ ແລະອີກສິ່ງ

ນຶ່ງທີ່ສຳຄັນກໍຄື ຄົນລາວມີສິດໄປເຮັດສວນຫຼືປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງຝັ່ງໄທໄດ້ແຕ່ຄົນໄທບໍ່ມີສິດຈະມາປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງ

ຝັ່ງລາວ.  ພໍ ສປປ ລາວຍຶດອຳນາດແລ້ວໄປຕົກລົງເຊັນສັນຍາກັບໄທວ່າດ້ວຍຊາຍແດນແມ່ນ້ຳຂອງ ແລະໄທໄດ້ໂກງ

ແລະບິດເບືອນຕໍ່ສົນທິສັນຍາເກົ່າທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງເຊັນກັນ, ໄທໄດ້ປ່ຽນແປງຂໍ້ຕົກລົງສບັບໃໝ່ທີ່ມີເນື້ອຄວາມວ່າ

ເສັ້ນກາງແມ່ຂອງເປັນເສັ້ນຊາຍແດນ ແລະດອນຫຼືເກາະໃດໃກ້ຝັ່ງຝ່າຍໃດຕ້ອງເປັນກັມະສິດຂອງຝ່າຍນັ້ນ.    ໃນປີ

ປີ 1976 ມີການສູຮົບກັນຢູ່ດອນຊິງຊູ້ທີ່ໄທປະກາດວ່າເປັນຂອງໄທແລະສັ່ງການໃຫ້ຄົນໄທລົງໄປເຮັດສວນປູກຝັງ

ຢູ່ດອນນັ້ນແລະໄລ່ຄົນລາວທີ່ເຄີຍປູກຝັງຢູາເທິງດອນນັ້ນມາແຕ່ດຶກດຳບັນໃຫ້ອອກຈາກດອນຊິງຊູ້ນັ້ນ ທະຫານລາວ

ຈຶ່ງເຂົ້າໄປບຸກໂຈມຕີໄລ້ທະຫານໄທອອກຈາກດອນດັ່ງກ່າວ ແລະໄດ້ຮັບໄຊຊະນະຢ່າງສວຍງມ.  ນີ້ລະຄືຄວາມໂງ່ແລະ

ດ້ອຍການສຶກສາຂອງຄນະຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ໃນຍຸກ 1975 ຈຶ່ງສູນເສັຍຫລາຍເກາະຫລາຍດອນໃຫ້ໄທ.

ໃນຣະບອບເກົ່າໄທໍ່ມີສິດແມ້ແຕ່ຈະດູດຫີນຫຼືຊາຍຕາມຫາດຊາຍທີ່ຕິດຕາຫຼິ່ງຂອງປະເທດໄທເລີຍ ຖ້າຈະດູດກໍຕ້ອງໄດ້ມາຂໍ

ນຳຣັຖະບານແລະປະຊາຊົນລາວກ່ອນ.



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

Anonymous wrote:

ນີ້ເປັນຄວາມໂງ່ຂອງຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອງທີ່ບໍ່ພາກັນທວງຖາມສົນທິສັນຍາວ່າດ້ວຍແມ່ນຳ້ຂອງທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງ

ເຊັນສັນຍາກັນວ່າແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ, ດອນທຸກດອນໃນແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ ໄທບໍ່ມີສິດຮຽກຮ້ອງຫຼືອ້າງ

ອິງວ່າເກາະໃດເກາະນຶ່ງເປັນຂອງໄທ ແລະຄົນໄທບໍ່ມີສິດມາເຮັດສວນຫຼືປູຝັງຢູ່ເທິງເກາະກາງແມ່ຂອງເດັດຂາດ ເຖິງວ່າ

ຍາມແລ້ງນຳຫຼົດລົງເກາະຫຼືດອນນັ້ນໆຈະບໍ່ມີສາຍນ້ຳໄຫຼຜ່ານຫຼືເປັນຫາດຊາຍຕິດເຂົ້າໄປເຖິງຝັ່ງໄທກໍຕາມ ແລະອີກສິ່ງ

ນຶ່ງທີ່ສຳຄັນກໍຄື ຄົນລາວມີສິດໄປເຮັດສວນຫຼືປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງຝັ່ງໄທໄດ້ແຕ່ຄົນໄທບໍ່ມີສິດຈະມາປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງ

ຝັ່ງລາວ.  ພໍ ສປປ ລາວຍຶດອຳນາດແລ້ວໄປຕົກລົງເຊັນສັນຍາກັບໄທວ່າດ້ວຍຊາຍແດນແມ່ນ້ຳຂອງ ແລະໄທໄດ້ໂກງ

ແລະບິດເບືອນຕໍ່ສົນທິສັນຍາເກົ່າທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງເຊັນກັນ, ໄທໄດ້ປ່ຽນແປງຂໍ້ຕົກລົງສບັບໃໝ່ທີ່ມີເນື້ອຄວາມວ່າ

ເສັ້ນກາງແມ່ຂອງເປັນເສັ້ນຊາຍແດນ ແລະດອນຫຼືເກາະໃດໃກ້ຝັ່ງຝ່າຍໃດຕ້ອງເປັນກັມະສິດຂອງຝ່າຍນັ້ນ.    ໃນປີ

ປີ 1976 ມີການສູຮົບກັນຢູ່ດອນຊິງຊູ້ທີ່ໄທປະກາດວ່າເປັນຂອງໄທແລະສັ່ງການໃຫ້ຄົນໄທລົງໄປເຮັດສວນປູກຝັງ

ຢູ່ດອນນັ້ນແລະໄລ່ຄົນລາວທີ່ເຄີຍປູກຝັງຢູາເທິງດອນນັ້ນມາແຕ່ດຶກດຳບັນໃຫ້ອອກຈາກດອນຊິງຊູ້ນັ້ນ ທະຫານລາວ

ຈຶ່ງເຂົ້າໄປບຸກໂຈມຕີໄລ້ທະຫານໄທອອກຈາກດອນດັ່ງກ່າວ ແລະໄດ້ຮັບໄຊຊະນະຢ່າງສວຍງມ.  ນີ້ລະຄືຄວາມໂງ່ແລະ

ດ້ອຍການສຶກສາຂອງຄນະຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ໃນຍຸກ 1975 ຈຶ່ງສູນເສັຍຫລາຍເກາະຫລາຍດອນໃຫ້ໄທ.

ໃນຣະບອບເກົ່າໄທໍ່ມີສິດແມ້ແຕ່ຈະດູດຫີນຫຼືຊາຍຕາມຫາດຊາຍທີ່ຕິດຕາຫຼິ່ງຂອງປະເທດໄທເລີຍ ຖ້າຈະດູດກໍຕ້ອງໄດ້ມາຂໍ

ນຳຣັຖະບານແລະປະຊາຊົນລາວກ່ອນ.


 ຕາມກົດໃໝ່ນີ້ເພີ່ນວ່າ ເສັ້ນຊາຍແດນຕາມລຳນ້ຳຂອງແມ່ນໄປຕາມແລວນ້ຳເລິກ ວ່າຊັ້ນ

ສນັ້ນ ໄທຈື່ງສວຍໂອກາດຫາທຸກວິທີທາງ ເຮັດໃຫ້ທຳມະຊາດປ່ຽນແປງ ເພື່ອຈະໄດ້ຢຶດເອົາດີນແດນ

ຂອງລາວໄປແບບງ່າຍໆ ແລະ ຖືກຕ້ອງຕາມກົດໝາຍ



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ນີ້ເປັນຄວາມໂງ່ຂອງຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອງທີ່ບໍ່ພາກັນທວງຖາມສົນທິສັນຍາວ່າດ້ວຍແມ່ນຳ້ຂອງທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງ

ເຊັນສັນຍາກັນວ່າແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ, ດອນທຸກດອນໃນແມ່ນ້ຳຂອງເປັນຂອງລາວ ໄທບໍ່ມີສິດຮຽກຮ້ອງຫຼືອ້າງ

ອິງວ່າເກາະໃດເກາະນຶ່ງເປັນຂອງໄທ ແລະຄົນໄທບໍ່ມີສິດມາເຮັດສວນຫຼືປູຝັງຢູ່ເທິງເກາະກາງແມ່ຂອງເດັດຂາດ ເຖິງວ່າ

ຍາມແລ້ງນຳຫຼົດລົງເກາະຫຼືດອນນັ້ນໆຈະບໍ່ມີສາຍນ້ຳໄຫຼຜ່ານຫຼືເປັນຫາດຊາຍຕິດເຂົ້າໄປເຖິງຝັ່ງໄທກໍຕາມ ແລະອີກສິ່ງ

ນຶ່ງທີ່ສຳຄັນກໍຄື ຄົນລາວມີສິດໄປເຮັດສວນຫຼືປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງຝັ່ງໄທໄດ້ແຕ່ຄົນໄທບໍ່ມີສິດຈະມາປູກຝັງຢູ່ແຄມຂອງ

ຝັ່ງລາວ.  ພໍ ສປປ ລາວຍຶດອຳນາດແລ້ວໄປຕົກລົງເຊັນສັນຍາກັບໄທວ່າດ້ວຍຊາຍແດນແມ່ນ້ຳຂອງ ແລະໄທໄດ້ໂກງ

ແລະບິດເບືອນຕໍ່ສົນທິສັນຍາເກົ່າທີ່ສຍາມແລະຝຣັ່ງເຊັນກັນ, ໄທໄດ້ປ່ຽນແປງຂໍ້ຕົກລົງສບັບໃໝ່ທີ່ມີເນື້ອຄວາມວ່າ

ເສັ້ນກາງແມ່ຂອງເປັນເສັ້ນຊາຍແດນ ແລະດອນຫຼືເກາະໃດໃກ້ຝັ່ງຝ່າຍໃດຕ້ອງເປັນກັມະສິດຂອງຝ່າຍນັ້ນ.    ໃນປີ

ປີ 1976 ມີການສູຮົບກັນຢູ່ດອນຊິງຊູ້ທີ່ໄທປະກາດວ່າເປັນຂອງໄທແລະສັ່ງການໃຫ້ຄົນໄທລົງໄປເຮັດສວນປູກຝັງ

ຢູ່ດອນນັ້ນແລະໄລ່ຄົນລາວທີ່ເຄີຍປູກຝັງຢູາເທິງດອນນັ້ນມາແຕ່ດຶກດຳບັນໃຫ້ອອກຈາກດອນຊິງຊູ້ນັ້ນ ທະຫານລາວ

ຈຶ່ງເຂົ້າໄປບຸກໂຈມຕີໄລ້ທະຫານໄທອອກຈາກດອນດັ່ງກ່າວ ແລະໄດ້ຮັບໄຊຊະນະຢ່າງສວຍງມ.  ນີ້ລະຄືຄວາມໂງ່ແລະ

ດ້ອຍການສຶກສາຂອງຄນະຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ໃນຍຸກ 1975 ຈຶ່ງສູນເສັຍຫລາຍເກາະຫລາຍດອນໃຫ້ໄທ.

ໃນຣະບອບເກົ່າໄທໍ່ມີສິດແມ້ແຕ່ຈະດູດຫີນຫຼືຊາຍຕາມຫາດຊາຍທີ່ຕິດຕາຫຼິ່ງຂອງປະເທດໄທເລີຍ ຖ້າຈະດູດກໍຕ້ອງໄດ້ມາຂໍ

ນຳຣັຖະບານແລະປະຊາຊົນລາວກ່ອນ.


 ຕາມກົດໃໝ່ນີ້ເພີ່ນວ່າ ເສັ້ນຊາຍແດນຕາມລຳນ້ຳຂອງແມ່ນໄປຕາມແລວນ້ຳເລິກ ວ່າຊັ້ນ

ສນັ້ນ ໄທຈື່ງສວຍໂອກາດຫາທຸກວິທີທາງ ເຮັດໃຫ້ທຳມະຊາດປ່ຽນແປງ ເພື່ອຈະໄດ້ຢຶດເອົາດີນແດນ

ຂອງລາວໄປແບບງ່າຍໆ ແລະ ຖືກຕ້ອງຕາມກົດໝາຍ


 ເລື່ອງນີ້ແມ່ນຜົນງານສະຫຼາດສ່ອງເງິນຂອງ ພັກ-ລັດ ສປປ.ລາວ.ໃຜເອົາເງິນຟາດຫົວມັນໆຮັບທຸກຢ່າງ

ເພື່ອຜົລປະໂຫຍດຂອງເຈົ້າຂອງເງິນ.ເລື່ອງຊາດ ແລະ ປະຊາຊົນມັນບໍ່ສົນດອກພວກພັກ-ລັດ ຄວາຍ.



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

ມັນ​ເປັນ​ແນວ​ນີ້​ເອັງ​ເພາະ​ສ​ນັ້ນ​ບັກ​ຈັນ​ເພັງ​ມັນ​ວ່າ​ຊິ​ປ່ຽນ​ຊື່​ແມ່

ນ​້ຳ​ຂອງ​ແລະ​ມັນ​ຊິ​ເຮັດ​ໃຫ້​ແມ່​ນ້ຳ​ຂອງ​ໄຫຼ​ໄປ​ທາງ​ອື່ນ​ບັກ​ໂຄດ​ແມ່

ນີ້​ກະ​ເວົ້​າ​ສຳ​ຫາວ​ແທ້ໆ​ມັນ​ເວົ້າ​ແບບ​ກຳ​ປັ້ນ​ທຸບ​ດີນ​ເລີຍ​ໃກ້​ຊິ​ຕາຍ

ແລ້ວ​ເວົ້າ​ແບບ​ໝາໆ​ເລີຍ



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

​ບາດນີ້ ກະ​ມີ​ໄທ​ຍ ຈັບ​ລາວ ຍອດ​ການ​ດູດ​ຫີນ-ຊາຍ

ຢູ່​ແຖວ ໜອງ​ຄາຍ...ຫວັງ​ວ່າ ຈະ​ບໍ່​ຮ້າຍ​ແຮງ

ຈົນ​ກາຍ​ເປັນ ສົງ​ຄາມ...??



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

นรข.หนองคายยึดเรือดูดทรายลาว 3 ลำล้ำเขตแดน

559000003359305.JPEG559000003359303.JPEG559000003359302.JPEG

หนองคาย - นรข.เขตหนองคายออกลาดตระเวนตามน้ำโขง พบเรือดูดทรายสัญชาติลาว 3 ลำรุกล้ำเขตแดนไทย จึงสนธิกำลังหน่วยงานข้างเคียงตรวจยึด ควบคุมคนงานชาวลาว รอพิสูจน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย
       
       วันนี้ (29 มี.ค. 59) นาวาเอก สุชาติ อุดมนาค ผู้บังคับหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำน้ำโขง (ผบ.นรข.) เขตหนองคาย พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ออกปฏิบัติหน้าที่ลาดตระเวนตามลำน้ำโขง เมื่อมาถึงบริเวณบ้านหินโงม ม.2 ต.หินโงม อ.เมืองหนองคาย พบเรือดูดทราย 3 ลำกำลังดูดทรายในแม่น้ำโขง ซึ่งตรวจสอบจากระบบจีพีเอส พบว่าเรือทั้ง 3 ลำนั้นล้ำเขตแดนเข้ามาในเขตแดนไทย เจ้าหน้าที่ นรข.เขตหนองคายจึงตรวจยึดและคุมเรือทั้ง 3 ลำเข้าฝั่งเพื่อตรวจสอบ
       
       ก่อนประสานไปยังนายโสภณ ห่วงญาติ นายอำเภอเมืองหนองคาย, พ.ต.อ.ปัญญา ปุยนุเคราะห์ ผกก.สภ.บ้านเดื่อ, ร.ต.อ.พงษ์พิพัฒน์ บูรณะบัญญัติ รอง สว.สน.3 กก.11 บก.รน.ตำรวจน้ำหนองคาย, พร้อมด้วยกำลังเจ้าหน้าที่ นรข.หนองคาย, อส.เมืองหนองคาย, ตำรวจ สภ.บ้านเดื่อ, ตำรวจน้ำหนองคาย เพื่อร่วมกันตรวจสอบโดยละเอียด
       
       จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่าในเรือทั้ง 3 ลำเป็นของบริษัทคำพู พูนสมบัด สัญชาติลาว ซึ่งเป็นเรือที่ติดตั้งเครื่องดูดทรายและกรวด 2 ลำ ส่วนอีก 1 ลำนั้นเป็นเรือบรรทุกกรวดทรายที่ดูดขึ้นมา และพบว่ามีคนควบคุมเรือเพียง 2 คน ทราบชื่อคือท้าวแหล่ หมื่นลาดชะบันดิด ชาวบ้านสะหวันนะเขต แขวงสะหวันนะเขต และท้าวโล่ วงสีตานป่าหวาย ชาวหาดทรายฟอง เมืองหาดทรายฟอง แขวงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นลูกจ้าง และมีหน้าที่ขับเรือดูดทรายและกรวด
       
       ทั้งนี้ ชาวบ้านและผู้เลี้ยงปลากระชังในพื้นที่ตำบลหินโงมกล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า เดือดร้อนและได้รับผลกระทบจากเสียงของเรือดูดทรายมาก เนื่องจากเรือออกมาดูดทรายแต่เช้าส่งเสียงดังรบกวนชาวบ้านไม่ได้พักผ่อน
       
       ด้านนายโสภณ ห่วงญาติ นายอำเภอเมืองหนองคาย กล่าวว่า ข้อตกลงการดูดทรายในแม่น้ำโขงระหว่างไทยกับลาว จะอนุญาตดูดกรวดทรายได้ 8 เดือนและพัก 4 เดือน การออกมาดูดทรายและกรวดทำได้ในระยะ 1 ใน 4 ของความกว้างของแม่น้ำโขง ซึ่งจากการตรวจสอบโดยจีพีเอสพบว่าเรือดูดทรายสัญชาติลาวทั้ง 3 ลำล้ำเขตเกินกว่าข้อตกลงที่กำหนด จึงต้องตรวจยึดเพื่อตรวจสอบโดยละเอียดต่อไป ซึ่งในขณะนี้ยังไม่มีการแจ้งข้อกล่าวหากับ 2 คนลาวผู้ควบคุมเรือแต่อย่างใด
       
       ด้านนาวาเอก สุชาติ อุดมนาค ผบ.นรข.เขตหนองคาย กล่าวว่า ปัญหาเรื่องการดูดทรายนั้นชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนมาโดยตลอด ทางจังหวัดได้พูดคุยกับผู้ประกอบการทั้งฝั่งไทยและฝั่ง สปป.ลาวมาหลายครั้ง ทาง นรข.ทำหนังสือประท้วง 4 รอบ ทางเจ้าหน้าที่พยายามแก้ไขปัญหา แต่ครั้งนี้มีความชัดเจนเรื่องการล้ำแดน ตามข้อตกลงดูดได้แค่ 1 ใน 4 ของความกว้างของแม่น้ำโขง แต่วันนี้ดูดล้ำเขตแดน เจ้าหน้าที่จึงต้องเข้ามาตรวจสอบและตรวจยึด รวมทั้งเปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้ระบายความเดือดร้อนให้ผู้ควบคุมเรือฟัง
       
       ด้านท้าวแหล่ ผู้ควบคุมเรือ ได้กล่าวขอโทษชาวบ้านที่ตนมาสร้างความเดือดร้อน ส่งเสียงดังเป็นที่น่ารำคาญ แต่เนื่องจากตนเป็นเพียงลูกจ้าง เจ้านายสั่งให้ทำก็ต้องทำ เพราะต้องหาเงินเลี้ยงปากท้อง ตนจะนำเรื่องความเดือดร้อนของชาวบ้านนี้กลับไปบอกเจ้าของบริษัท และตนคงต้องตกงานแน่นอน ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติทุกฝ่ายกำลังเร่งตรวจสอบและพิสูจน์ทราบเพื่อให้ ความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย และโดยทางฝ่ายลาวยังไม่สะดวกที่จะเดินทางมาตรวจสอบ ได้แจ้งกับทางจังหวัดหนองคายให้รอไปก่อน



__________________
Page 1 of 1  sorted by
 
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard