ລາວໂຮມລາວ ເພື່ອປະຊາທິປະໄຕ

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: ລາວຂາຍໄຟຟ້າໃຫ້ໄທຍ..! ແຕ່ກັບເປັນຫນີ້ໄຟຟ້າໄທຍ 6,000 ລາ້ນບາດ
Anonymous

Date:
ລາວຂາຍໄຟຟ້າໃຫ້ໄທຍ..! ແຕ່ກັບເປັນຫນີ້ໄຟຟ້າໄທຍ 6,000 ລາ້ນບາດ
Permalink   
 


ชาวลาว งงเป็นอย่างมาก.. เป็นแบตเตอรี ແຫ່ງ Asian? ไฉนติดหนี้ค่าไฟฟ้าไทย 6 พันล้าน

559000010010601.JPEG

 

เสาไฟฟ้าที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในไซยะบูลี แขวงนี้์ซือไฟฟ้าจาก ฟฟล.เพิ่มขึ้นอีกมากมาย หลังจากกลายเป็นที่ตั้งโรงไฟฟ้าใหญ่ที่สุดในประเทศ ที่ใช้พลังงานความร้อนจากถ่านหินผลิตเองในท้องถิ่น เสาไฟฟ้าที่เห็นอาจทำให้หลายคน นึกถึงต่างอำเภอในชนบทห่างไกลของไทยเมื่อ 40-50 ปีก่อน วันนี้ลาวยังขาดแคลนระบบสายส่งไฟฟ้าอย่างมาก ทำให้ต้องซื้อไฟจากไทยกลับไปใช้ ภายใต้ความตกลง "แลกเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า" ที่ทำคู่กับสัญญาซื้อขาย.

ชาวลาวที่ใช้อินเตอร์เน็ตนับพันๆ คน สงสัยและมีความข้องใจเป็นอย่างยิ่ง หลังจากได้ทราบข่าวผ่านสื่อในประเทศไทยว่า จนถึงปัจจุบันรัฐบาลลาวติดค้างค่ากระแสไฟฟ้า ต่อการไฟฟ้าฝ่ายผลิตของไทย เป็นเงินถึง 6,000 ล้านบาท หลายคนแสดงความสงสัยนี้ ผ่านเว็บไซต์สื่อของทางการ และ ถึงแม้ว่าจะมีผู้ทราบเรื่องจำนวนหนึ่ง พยายามอะไรอธิบายข้อเท็จจริง แต่ก็ยังไม่อาจช่วยไขข้อข้องใจได้ทั้งหมด
       
       นั่นคือผลของความเชื่อ ที่เชื่อกันมาเป็นเวลานานว่า ลาวเป็นผู้ผลิตกระแสไฟฟ้าส่งออก และ ไทยเป็นลูกค้ารายใหญ่ที่สุด ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา และ หลายคนกล่าวว่าถ้าหากประเทศชาติ จะตกเป็นหนี้ค่าไฟประเทศไทยจริงๆ สิ่งนี้ก็อาจจะเกิดจากการทุจริตคอร์ปชั่น ของเจ้าหน้าที่ทางการ
       
       "ปะเทดผะลิดไฟ้าเอง พัดติดหนี้เขากูละงง" ลิดสะไหม LC จันทะบัวลี (Lithsamay LC Chanthaboualy) เป็นคนแรกๆ ที่แสดงความงวยงงง ผ่านเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ปะเทดลาว
       
       "ประชาชนเฮาในประเทดแท้ๆ บางพึ้นที่ไฟยังบ่อได้ใช้กันเลย เป็นจั่งใดนอ คึอว่ามาเป็นหนี้ประเทศอึ่นแล้ว" Kem Tana Kon เขียนแสดงความงุนงง ที่เห็นชาวลาวในประเทศจำนวนมาก ในบางพื้นที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้เลย แต่เป็นเพราะเหตุใด จึงไปเป็นหนี้ค่าไฟฟ้าประเทศอื่น
       
       "เปันบ้าไปแล้ว ลาวคือสิเปันหนี้ ลาวมีไฟฟ้าใช้เอง เอามาแต่ไสอีก" - จอมช่า บ้าพลั่ง - เขียนอย่างไม่เชื่อว่าจะเป็นความจริง เพราะลาวผลิตไฟฟ้า และ มีใช้เอง เพราะเหตุใดจึงต้องไปซื้อไฟฟ้ามาใช้อีก
       
       ความเห็นของชาวลาวออนไลน์ทั้งสาม แสดงให้ห็นความไม่เข้าในข้อเท็จจริงที่ว่า นอกจากไทยจะซื้อไฟฟ้าจากลาว ตามสัญญาซื่้อขายที่ทำกันมาหลายครั้ง แต่ในช่วงเดียวกันนั้น ลาวได้ซื้อกลับไฟฟ้าที่ขายให้ไทยจำนวนหนึ่ง เพื่อนำไปใช้ในดินแดนห่างไกล ในแขวงต่างๆ เหนือจดใต้ ที่ระบบสายส่งไฟฟ้าในประเทศ ยังเข้าไม่ถึง โดยส่งผ่านระบบสายส่งที่ กฟผ. เป็นผู้ลงทุนสร้างไปเชื่อมต่อ ระบบสายส่งของการไฟฟ้าลาว

559000010010602.JPEG

 

พิธีเปิดโรงไฟฟ้าย่อยและเชื่อมต่อข่ายไฟฟ้า ระหว่างแขวงสาละวันกับแขวงสะหวันนะเขต ในสัปดาห์กลางเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา เป็นก้าวใหญ่ๆ ของลาว ที่จะสลัดการขึ้นต่อ ที่ต้องซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. กลับไปใช้ในหลายท้องถิ่นทั่วประเทศ ในราคาที่แพงกว่าตอนขาย. Photo: Embassy of Japan.

       เมื่อซื้อไฟฟ้าจากไทย ผ่านระบบสายส่งของไทย ก็จึงทำให้ค่าไฟฟ้าที่ลาวซื้่อจากไทย สูงกว่าครั้งที่ไทยซื้อจากลาว ซึ่งเป็นไปตามความตกลงซื้อขาย ที่ทั้งสองฝ่ายต่างเข้าใจ และ ตระหนักในข้อเท็จจริงเป็นอย่างดี
       
       ความจริงที่ทำให้ชาวลาวจำนวนมากงุนงงสงสัยนี้ เปิดเผยเมื่อปลายสัปดาห์ที่แล้ว โดยผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน นายทวารัฐ สูตะบุตร ในการประชุมสัมมนาหัวข้อ "คุณูปการของ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ต่อสังคมไทย” ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
       
       ศ.ดร.บุนรอด เป็น รมว.ทบวงมหาวิทยาลัยคนแรกของไทย และ เป็น รมช.กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ นอกจากนั้่นยังเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ เป็นผู้รวมกิจการสามหน่วยงานการไฟฟ้าในยุคนนั้น ก่อตั้งเป็นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เมื่อปี 2512 และ พัฒนาความสัมพันธ์ทางธุรกิจไฟฟ้ากับลาว มาตั้งแต่นั้น
       
       วันที่ 6 ก.ย.2559 ระหว่างการประชุมผู้นำกลุ่มอาเซียนในนครเวียงจันทน์ พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กับ นายทองลุน สีสุลิด นรม.ลาว ได้ร่วมเป็นสักขีพยาน การลงนามในบันทึกช่วยความจำ ระหว่าง รมว.พลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย กับคู่ตำแหน่งแห่งกระทรวงพลังงานและเหมืองแร่ลาว ซึ่ง กฟผ.จะซื้อไฟฟ้าจากลาว เพิ่มขึ้นเป็น 9,000 เมกกะวัตต์ จากเดิม 7,000 เมกะวัตต์ ที่เซ็นสัญญาซื้อขายครั้งก่อนหน้านั้น เมื่อ 10 ปีที่แล้ว
       
       นอกเหนือจากไทยรับซื้อไฟฟ้าจากลาวแล้ว ในกรอบ 9,000 เมกะวัตต์แล้ว สองฝ่ายยังมีความตกลง แลกเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าระหว่างกันอีก รวม 494 เมกะวัตต์ คือ หากลาวผลิตไฟฟ้าได้มากเกินกว่าความต้องการใช้ในประเทศ ก็จะส่งไฟฟ้าส่วนที่เหลือขายให้แก่ กฟผ.อีก โดยผ่านระบบสายส่ง แต่ถ้าหากฝ่ายลาวขาดแคลนไฟฟ้า ไทยก็จะส่งขายกลับคืนไปให้ลาว ผ่านระบบสายส่งเช่นเดียวกัน



__________________
Anonymous

Date:
RE: ລາວຂາຍໄຟຟ້າໃຫ້ໄທຍ..! ແຕ່ກັບເປັນຫນີ້ໄຟຟ້າໄທຍ 6,000 ລາ້ນບາດ
Permalink   
 


ลาวกู้1.5พันล้านให้ลาวสร้างถนน'หงสา-เชียงแมน'

640x390_617151_1418099439.jpg?timestamp=

 

ครม.ไฟเขียวปล่อยกู้ 1,581 ล้านให้ลาวสร้างถนนเมืองหงสา-บ้านเชียงแมน ระยะทาง114กม. ต่อยอดยุทธศาสตร์เมืองคู่แฝด

พล.ต.สรรเสริญ แก้วกำเนิด รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการประชุมครม.ว่า ครม.มีมติเห็นชอบให้สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) หรือ สพพ. ดำเนินการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ สปป.ลาว เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินโครงการก่อสร้างถนนจากเมืองหงสา-บ้านเชียงแมน (เมืองจอมเพชร แขวงหลวงพระบาง) ระยะทางรวม 114 กิโลเมตร ตามผลการศึกษา สำรวจ และออกแบบรายละเอียด ตามที่กระทรวงการคลังเสนอและให้ทำความตกลงในรายละเอียดกับสำนักงบประมาณต่อไป

สำหรับโครงการดังกล่าวมีวงเงินลงทุนรวม 1,977 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกู้ 1,581 ล้านบาทหรือ 80% ของวงเงินลงทุนทั้งหมด และเงินให้เปล่า 395.40 ล้านบาท หรือ 20% ของวงเงินทั้งหมด อายุสัญญาเงินกู้ 30 ปี อัตราดอกเบี้ย 1.5% ต่อปีและปลอดหนี้ใน 10 ปีแรก โดยมีเงื่อนไขว่าโครงการดังกล่าวจะต้องใช้สินค้าและบริการจากประเทศไทยไม่น้อยกว่า 50% ของมูลค่าสัญญา

กระทรวงการคลังรายงานครม.ว่า โครงการฯ ก่อสร้างถนนในเส้นทางดังกล่าวเป็นการเชื่อมโยงการคมนาคม ระหว่างประเทศไทย-ลาว ผ่านจุดผ่านแดนห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน เพื่อเดินทางไปสู่แขวงหลวงพระบาง ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกและจะเป็นการส่งเสริมยุทธศาสตร์การเป็นเมืองคู่แฝดระหว่างจ.น่านและแขวงหลวงพระบางได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยการให้ความช่วยเหลือสำหรับโครงการดังกล่าวสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของประเทศ ไทยในการให้ความสำคัญต่อการเชื่อมโยงการคมนาคมระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ ทั้งในแง่การลงทุนในอุตสาหกรรมการเกษตร การท่องเที่ยวและบริการ การส่งออกสินค้าอุปโภค บริโภค เชื้อเพลิงหรือสินค้าที่ใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตร

สำหรับภาพรวมการยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุนรวม 10 เดือนนั้น แม้จะมีอัตราลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2556 โดยจำนวนโครงการปรับลดลง 19% ขณะที่มูลค่าเงินลงทุนปรับลดลง 18.7% แต่ก็เป็นการลดในอัตราที่น้อยลง โดยในช่วงก่อนหน้านี้ พบว่า จำนวนโครงการและมูลค่าเงินลงทุนมีสัดส่วนลดลงมากกว่า เช่น จำนวนโครงการและมูลค่าเงินลงทุนในช่วง 8 เดือนลดลง 27.7% และ 38.2% ตามลำดับ ส่วนจำนวนโครงการและมูลค่าเงินลงทุนในช่วง 9 เดือนลดลง 23% และ 27% ตามลำดับ

ทั้งนี้ การยื่นขอรับส่งเสริมลงทุนในช่วง 10 เดือน กระจายอยู่ในกลุ่มกิจการที่มีขนาดเงินลงทุนต่างๆ โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนของโครงการที่มีขนาดเงินลงทุนขนาดกลาง (เงินลงทุนไม่เกิน 1,000 ล้านบาท จำนวนถึง 1,057 โครงการ เงินลงทุนรวมกว่า 102,400 ล้านบาท มีกิจการที่น่าสนใจ เช่น กิจการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ กิจการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ และเวชภัณฑ์ กิจการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน กิจการเลี้ยงสัตว์ กิจการผลิตถุงมือยาง และผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ โรงไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลและขยะ

ขณะที่การลงทุนของโครงการขนาดใหญ่ที่มีเงินลงทุนมากกว่า 1,000 ล้านบาท ทั้งสิ้น 149 โครงการเงินลงทุน 542,900 ล้านบาท มีกิจการที่น่าสนใจ เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ กิจการผลิตรถยนต์อีโคคาร์ กิจการผลิตยางรถยนต์ กิจการผลิตยางสำหรับอากาศยาน กิจการผลิตสิ่งปรุงแต่งอาหาร และกิจการผลิตถุงมือทางการแพทย์

สำหรับกิจการที่ยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุนสูงสุด อยู่ในกลุ่ม บริการ และสาธารณูปโภค 355 โครงการ เงินลงทุน 264,600 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและยานยนต์ 237 โครงการ เงินลงทุน 207,100 ล้านบาท กิจการกลุ่มเคมี กระดาษ และพลาสติก 141 โครงการ เงินลงทุน 60,700 ล้านบาท กลุ่มกิจการเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร 198 โครงการ เงินลงทุน 45,500 ล้านบาท กิจการเหมืองแร่ เซรามิก และโลหะขั้นมูลฐาน 43 โครงการ เงินลงทุน 30,000 ล้านบาท กิจการอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องไฟฟ้า 192 โครงการ เงินลงทุน 20,200 ล้านบาท และกิจการในอุตสาหกรรมเบา 40 โครงการ เงินลงทุน 17,300 ล้านบาท



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

ไทยใจป้ำ! อนุมัติเงิน 310ล้านบาท ให้ลาวกู้พัฒนาระบบประปาใน 5เมือง

prapa4.jpg

 

10 ก.ย. 56 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายภักดีหาญส์ หิมะทองคำ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสำหรับโครงการพัฒนาระบบประปา

โดยให้สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) (สพพ.) ดำเนินการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ สปป.ลาว เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินโครงการพัฒนาระบบประปาใน 5 เมือง ในวงเงินรวม 310 ล้านบาท

ทั้งนี้ สพพ.ได้พิจารณาแนวทางการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ลาว โดยเห็นว่าในระยะแรกควรให้ความช่วยเหลือในส่วนของเมืองที่มีความยากจนและเมืองที่มีความสำคัญตามระเบียงเศรษฐกิจภายใต้แผนงาน GMS จำนวน 5 เมือง
1.เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว
2.เมืองคอบ แขวงไชยะบุรี
3.เมืองแบ่ง แขวงอุดมไชย
4.เมืองไชบุรี แขวงสะหวันนะเขต
และ 5.เมืองโขง แขวงจำปาสัก

โดยสพพ.ยังได้จัดให้มีการฝึกอบรมในเรื่องการบริหารจัดการและบำรุงรักษาโรงผลิตน้ำประปาให้แก่เจ้าหน้าที่ สปป.ลาว อย่างไรก็ตาม สำหรับรูปแบบและวิธีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินนั้น จะให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ลาว เป็นเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนจำนวน 305 ล้านบาท

อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 ต่อปี อายุสัญญา 20 ปี (รวมระยะเวลาปลอดหนี้ 5 ปี) และเงินให้เปล่าจำนวน 5 ล้านบาท ซึ่งเงินให้เปล่าดังกล่าวจะเป็นค่าใช้จ่ายเฉพาะในส่วนของค่าฝึกอบรม



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

ปูต้อนรับ นายกฯ ลาว ให้กู้ 900 กว่าล้านพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

Thairath_63201233415AM.jpg

 

"ยิ่งลักษณ์" ต้อนรับนายกรัฐมนตรีลาว นำตรวจแถวทหารกองเกียรติยศ 3 เหล่าทัพ ลั่นพร้อมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐาน ใจป้ำให้กู้เงิน 900 กว่าล้าน...
เมื่อวันที่ 2 มิ.ย.2555 น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ทำพิธีต้อนรับนายทองสิง ทำมะวง นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยได้นำตรวจแถวทหารกองเกียรติยศ 3 เหล่าทัพ ก่อนที่จะหารือข้อราชการ ประมาณ 30 นาที จากนั้น น.ส.ยิ่งลักษณ์ พร้อมด้วยนายทองสิง แถลงข่าวร่วมกัน โดย น.ส.ยิ่งลักษณ์ กล่าวว่า ตนยินดีที่ได้ให้การต้อนรับนายกรัฐมนตรีสปป.ลาว ที่ได้เดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกหลังจากเข้ารับตำแหน่ง และเข้าร่วมประชุมอิโคโนมิค ฟอรั่ม ทั้งนี้ ไทยกับลาวมีความใกล้ชิดกันทุกระดับ ทุกมิติ ประชาชนทั้งสองประเทศใกล้ชิดผูกพันกันอย่างแน่นแฟ้น ไทยมุ่งมั่นนโยบายที่จะขยายความร่วมมือกับ สปป.ลาวให้ลึกซึ้งทุกด้าน ทั้งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การแก้ไขปัญหาบริเวณแนวชายแดน เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ไทยพร้อมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของ สปป.ลาว โดยถือว่าความมั่นคงมั่งคั่งของ สปป.ลาว เป็นความมั่นคงของไทยเช่นกัน

น.ส.ยิ่งลักษณ์ กล่าวว่า เราได้ลงนามสัญญากู้เงินสำหรับโครงการปรับปรุงถนนเส้นทางภูดู่ จ.อุตรดิตถ์ ปากลาย แขวงไชยะบุรี วงเงิน 718 ล้านบาท โครงการปรับปรุงสนามบินปากเซ ระยะที่สอง 184 ล้านบาท และไทยยินดีที่จะพิจารณาโครงการอื่นๆ ในอนาคต เช่น โครงการก่อสร้างสะพานแม่น้ำโขงแห่งที่ 5 บึงกาฬ ปากซัน และการเชื่อมโยงทางรถไฟระหว่างกัน ตลอดจนการสนับสนุนงบประมาณในการสร้างอาคารโรงเรียนมัธยมสมบูรณ์ เมืองเวียงไจ แขวงหัวพันภายใต้กรอบความร่วมมือทางวิชาการไทย ลาว นอกจากนี้ ยังเห็นพ้องต้องกันว่า เราต้องมีความร่วมมือในการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งสินค้าข้ามแดน ยกระดับจุดผ่านแดนที่มีความพร้อมเพื่อให้ สปป.ลาว ก้าวจากประเทศแลนด์ล็อกไปเป็นประเทศแลนด์ลิงก์อย่างแท้จริง ขณะที่การค้าการลงทุนควรจะสนับสนุนกันมากขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนจากฝ่ายไทยใน สปป.ลาว ตนขอให้นายทองสิงดูแลนักลงทุนไทยด้วย

ด้าน นายทองสิง กล่าวว่า สปป.ลาว ยืนยันว่าจะให้ความร่วมมือในการสกัดกั้นสิ่งที่ผิดกฎหมายบริเวณชายแดน เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ อย่างไรก็ตาม ในนามรัฐบาล สปป.ลาว และประชาชนขอขอบคุณไทยในเรื่องการสนับสนุนการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ และรัฐบาลไทยที่ให้ความช่วยเหลือตลอดมา โดยหวังว่า จะมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันสืบเนื่องต่อไปด้วย.



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

Anonymous wrote:

ชาวลาว งงเป็นอย่างมาก.. เป็นแบตเตอรี ແຫ່ງ Asian? ไฉนติดหนี้ค่าไฟฟ้าไทย 6 พันล้าน

559000010010601.JPEG

 

เสาไฟฟ้าที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในไซยะบูลี แขวงนี้์ซือไฟฟ้าจาก ฟฟล.เพิ่มขึ้นอีกมากมาย หลังจากกลายเป็นที่ตั้งโรงไฟฟ้าใหญ่ที่สุดในประเทศ ที่ใช้พลังงานความร้อนจากถ่านหินผลิตเองในท้องถิ่น เสาไฟฟ้าที่เห็นอาจทำให้หลายคน นึกถึงต่างอำเภอในชนบทห่างไกลของไทยเมื่อ 40-50 ปีก่อน วันนี้ลาวยังขาดแคลนระบบสายส่งไฟฟ้าอย่างมาก ทำให้ต้องซื้อไฟจากไทยกลับไปใช้ ภายใต้ความตกลง "แลกเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า" ที่ทำคู่กับสัญญาซื้อขาย.

ชาวลาวที่ใช้อินเตอร์เน็ตนับพันๆ คน สงสัยและมีความข้องใจเป็นอย่างยิ่ง หลังจากได้ทราบข่าวผ่านสื่อในประเทศไทยว่า จนถึงปัจจุบันรัฐบาลลาวติดค้างค่ากระแสไฟฟ้า ต่อการไฟฟ้าฝ่ายผลิตของไทย เป็นเงินถึง 6,000 ล้านบาท หลายคนแสดงความสงสัยนี้ ผ่านเว็บไซต์สื่อของทางการ และ ถึงแม้ว่าจะมีผู้ทราบเรื่องจำนวนหนึ่ง พยายามอะไรอธิบายข้อเท็จจริง แต่ก็ยังไม่อาจช่วยไขข้อข้องใจได้ทั้งหมด
       
       นั่นคือผลของความเชื่อ ที่เชื่อกันมาเป็นเวลานานว่า ลาวเป็นผู้ผลิตกระแสไฟฟ้าส่งออก และ ไทยเป็นลูกค้ารายใหญ่ที่สุด ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา และ หลายคนกล่าวว่าถ้าหากประเทศชาติ จะตกเป็นหนี้ค่าไฟประเทศไทยจริงๆ สิ่งนี้ก็อาจจะเกิดจากการทุจริตคอร์ปชั่น ของเจ้าหน้าที่ทางการ
       
       "ปะเทดผะลิดไฟ้าเอง พัดติดหนี้เขากูละงง" ลิดสะไหม LC จันทะบัวลี (Lithsamay LC Chanthaboualy) เป็นคนแรกๆ ที่แสดงความงวยงงง ผ่านเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ปะเทดลาว
       
       "ประชาชนเฮาในประเทดแท้ๆ บางพึ้นที่ไฟยังบ่อได้ใช้กันเลย เป็นจั่งใดนอ คึอว่ามาเป็นหนี้ประเทศอึ่นแล้ว" Kem Tana Kon เขียนแสดงความงุนงง ที่เห็นชาวลาวในประเทศจำนวนมาก ในบางพื้นที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้เลย แต่เป็นเพราะเหตุใด จึงไปเป็นหนี้ค่าไฟฟ้าประเทศอื่น
       
       "เปันบ้าไปแล้ว ลาวคือสิเปันหนี้ ลาวมีไฟฟ้าใช้เอง เอามาแต่ไสอีก" - จอมช่า บ้าพลั่ง - เขียนอย่างไม่เชื่อว่าจะเป็นความจริง เพราะลาวผลิตไฟฟ้า และ มีใช้เอง เพราะเหตุใดจึงต้องไปซื้อไฟฟ้ามาใช้อีก
       
       ความเห็นของชาวลาวออนไลน์ทั้งสาม แสดงให้ห็นความไม่เข้าในข้อเท็จจริงที่ว่า นอกจากไทยจะซื้อไฟฟ้าจากลาว ตามสัญญาซื่้อขายที่ทำกันมาหลายครั้ง แต่ในช่วงเดียวกันนั้น ลาวได้ซื้อกลับไฟฟ้าที่ขายให้ไทยจำนวนหนึ่ง เพื่อนำไปใช้ในดินแดนห่างไกล ในแขวงต่างๆ เหนือจดใต้ ที่ระบบสายส่งไฟฟ้าในประเทศ ยังเข้าไม่ถึง โดยส่งผ่านระบบสายส่งที่ กฟผ. เป็นผู้ลงทุนสร้างไปเชื่อมต่อ ระบบสายส่งของการไฟฟ้าลาว

559000010010602.JPEG

 

พิธีเปิดโรงไฟฟ้าย่อยและเชื่อมต่อข่ายไฟฟ้า ระหว่างแขวงสาละวันกับแขวงสะหวันนะเขต ในสัปดาห์กลางเดือน ส.ค.ที่ผ่านมา เป็นก้าวใหญ่ๆ ของลาว ที่จะสลัดการขึ้นต่อ ที่ต้องซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. กลับไปใช้ในหลายท้องถิ่นทั่วประเทศ ในราคาที่แพงกว่าตอนขาย. Photo: Embassy of Japan.

       เมื่อซื้อไฟฟ้าจากไทย ผ่านระบบสายส่งของไทย ก็จึงทำให้ค่าไฟฟ้าที่ลาวซื้่อจากไทย สูงกว่าครั้งที่ไทยซื้อจากลาว ซึ่งเป็นไปตามความตกลงซื้อขาย ที่ทั้งสองฝ่ายต่างเข้าใจ และ ตระหนักในข้อเท็จจริงเป็นอย่างดี
       
       ความจริงที่ทำให้ชาวลาวจำนวนมากงุนงงสงสัยนี้ เปิดเผยเมื่อปลายสัปดาห์ที่แล้ว โดยผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน นายทวารัฐ สูตะบุตร ในการประชุมสัมมนาหัวข้อ "คุณูปการของ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ต่อสังคมไทย” ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
       
       ศ.ดร.บุนรอด เป็น รมว.ทบวงมหาวิทยาลัยคนแรกของไทย และ เป็น รมช.กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ นอกจากนั้่นยังเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ เป็นผู้รวมกิจการสามหน่วยงานการไฟฟ้าในยุคนนั้น ก่อตั้งเป็นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เมื่อปี 2512 และ พัฒนาความสัมพันธ์ทางธุรกิจไฟฟ้ากับลาว มาตั้งแต่นั้น
       
       วันที่ 6 ก.ย.2559 ระหว่างการประชุมผู้นำกลุ่มอาเซียนในนครเวียงจันทน์ พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กับ นายทองลุน สีสุลิด นรม.ลาว ได้ร่วมเป็นสักขีพยาน การลงนามในบันทึกช่วยความจำ ระหว่าง รมว.พลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย กับคู่ตำแหน่งแห่งกระทรวงพลังงานและเหมืองแร่ลาว ซึ่ง กฟผ.จะซื้อไฟฟ้าจากลาว เพิ่มขึ้นเป็น 9,000 เมกกะวัตต์ จากเดิม 7,000 เมกะวัตต์ ที่เซ็นสัญญาซื้อขายครั้งก่อนหน้านั้น เมื่อ 10 ปีที่แล้ว
       
       นอกเหนือจากไทยรับซื้อไฟฟ้าจากลาวแล้ว ในกรอบ 9,000 เมกะวัตต์แล้ว สองฝ่ายยังมีความตกลง แลกเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าระหว่างกันอีก รวม 494 เมกะวัตต์ คือ หากลาวผลิตไฟฟ้าได้มากเกินกว่าความต้องการใช้ในประเทศ ก็จะส่งไฟฟ้าส่วนที่เหลือขายให้แก่ กฟผ.อีก โดยผ่านระบบสายส่ง แต่ถ้าหากฝ่ายลาวขาดแคลนไฟฟ้า ไทยก็จะส่งขายกลับคืนไปให้ลาว ผ่านระบบสายส่งเช่นเดียวกัน


 559000005445401.JPEG

ຄ່າໄຟຟ້າ ບ້ານຂ້ອຍ 66 ລ້ານກວ່າກີບ ກໍຍອ້ນສາຍເຫດນີ້ລະ

559000005445402.JPEG



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

กู้ไปกู้มามีเปันหมื่นล้านเลยมั้งนี่ กู้ไม่คืน, กู้มาแล้วโกงไปโกงมา, กว่าจะผนปะโหยดถึงคน,ก็คงเหลือบ่ถึงคึ่รง

            วิธีที่พักลัดลาวใช้หนี้ไทยก็คือเก็บภาษีเยอะๆ คือ ตั้งกดให้ใครนำของเข้าลาว ถ้าเกีน 1.500 บาท ต้องเสียค่าปรับไหม 10 % ของราคาของ คือจะกดขี่ขมเหงกันเกีนไปแล้ว ปกกะติคนลาวจะข้ามมาซื้อของฝั่งไทย เช่น ที่หนองคาย อุดอนทานี ซื้อเยอะๆ แล้วข้ามกับไป ที่ข้ามมาซื้อเพาะของๆไทยมีคุนนะพาบ สู้ของลาวไม่ได้ แถมขายถืกกว่าลาวอีก ย่างซื้อโค้กที่ลาว กระป๋องละ 5000-5800 กีบ (20-25 บาท) แต่ถ้าชื้ที่ไท แค่กระป๋องละ 12,15 บาทเท่านั้น หลือพวกเนื้อสัตว์ ซื้อที่ลาวราคากิโลละ 7 หมื่นกีบ (ปะมาน 290 บาท) ที่ไทยแค่กิโลละ 220 บาท ถืกหลายๆ ค่าน้ำมัน ค่าแก๊สหุงต้ม ค่าไฟฟ้า(ที่ไทยซื้อจากลาวไป) ที่ไทยถืกกว่าลาวอีก ที่ลาว ค่าน้ำมัน ค่าแก้ดหุงต้ม โค่ดแพง! ค่าไฟฟ้าผลิตเอง ยังจะแพงกว่าไทยอีก นี่เห็นบอกว่าจะปับขึ้นอีก ด้วยเหดผนว่าค่าไฟฟ้าที่ลาวยังถูกยู่ ปับถะหนนหนทางก็ไม่ได้ทำให้ดีขึ้น ถ้าจะให่ดีน่าจะปับให้ลาวขับรถเลนซ้ายเหมือนไทย จะได้สะดวกๆหน่อย รดกะติดยู่ได้ ทำไมไม่ใซ่กานจะราจอนแบบไท จะได้หายติดหน่อย อุส่าขายไฟให้ต่างปะเทด แต่ว่าบ่เอาไปเร็ดถะหนนหนทางให่มันเหมือนไทน้อ ทำให้เป็นขับรดเลนซ้ายแบบไทย สะดวกแบบไทย แล้วล่าสุดที่บอกว่าเสียค่าปรับไหมหยังนั่นกะเพิ่งเลื่อนจากที่เรี่ม 1 ตุลา เป็น 1 พึสะจิกา กะเพาะว่าโดนคนลาวด่าตาย ของๆลาวบ่อมีคุนนะพาบ แถมแพงด้วย พอจะไปซื้อของมีคุนนะพาบจากไทย กะยังจะมาปรับหมงปรับไหมอะไรอีก ข่อยเบื่อ

            ขอวนกลับมาที่เรื่องสัมมะนานั่น ที่มีด่าไทย ด่าว่าโจนสะหยามลักพะแก้ว ไทข้ากันทุกมื้ คิดได้ว่ามีกานบอกว่าคนไทยชอบด่าลาว เอัาคำว่าลาวไปเป็นคำด่า แล้วถ้าสูไม่ชอบด่าแล้วจะไปด่าเขาว่าโจนสะหยามทำไมเล่า บักพักลัดไล้สะหมอง แล้วข่อยฮู้ว่าที่ไทด่าลาว เอาคำว่าลาวไปเป็นคำด่า กะเพาะว่าลาวทำโตเหมือนเปันขอทานอาเซียนไง ไปขอกู้เงีนไทยแล้วไม่มีจ่าย แล้วก็ขอให้ไทยยกหนี้ให้ นี่ไทยใจดีเคยยกหนี้ให้ไปแล้วไง นี่ยังจะขอให้ยกหนี้ค่าไฟให้อีก บักไร้สะหมอง

           ต่อมากะมีกานสอนให้รู้ว่า เพงลาวดวงเดือนเปันเพงลาว เพาะขึ้นต้นด้วยคำว่าลาว คืเอังมีสะหมองลึป่าวไอ้พักลัด สะหมัยก่อนคนไทยก็มักจะตั้งชื่อเพงด้วยคำว่าลาวยู่แล้วมิใช่หลื? แล้วหลักถานที่ว่าไทเป็นคนตั้งเพง กะมีตั้งเยอะ แต่ฝั่งลาวบ่อมีเลย แล้วยังหน้าด้านๆไปบอกว่าเป็นเพงลาวอีก ข้อยบ่อเชื่อ

           นอกจากนี้ยังมีเฮื่องฮาวอีกมมาก ที่ยากจะเอัามาเล่าให้ฟัง กะขอขอบใจทุกท่านด้วยละกัน ขออะไพด้วย ที่ต้องมาใช้พื้นที่เวับไท เพาะว่าถ้าไปโพสที่เว็บลาวมีหวังโดนจับปรับไหมด้วยเดี ขอบใจเด้อ



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   
 

ນີ້ສແດງເຖິງຫຼາຍບັນຫາຄື:

1)ຄວາມໂງ່ສະໝອງໝາປັນຍາໂຄຍຂອງບັນດາຜູ້ນຳຫາຍໂລ.

2)ຄວາມຊົ່ວຊ້າສາມານຂອງຜູ້ນຳ ຫາຍໂລ ທີ່ສໍ້ໂກງ ເພາະຂາຍໄດ້ແລ້ວເອົາເຂົ້າຖົງຕົນເອງ.

3)ເຈຕະນາໃຫ້ປະຊາຊົນລາວທຸກເຜົ່າມີຄວາມລຳບາກຈ່າຍໄຟແພງ ແລ້ວ ຍັງມາຕ້ອງແບກຫາບໜີ້ສິນ

ທີ່ຜູ້ນຳຫາຍໂລກໍ່ຂື້ນຍ້ອນບໍ່ຮູ້ບໍລິຫານ ແລະມີສັນດານໂກງ.ສະຫລຸບແລ້ວທຸກບັນຫາແມ່ນເກີດມາຈາກ

ຜູ້ນຳຫາຍໂລທັງນັ້ນ.

 



__________________
Page 1 of 1  sorted by
 
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard