ສປປລາວ ຍັງອີກດົນປານໃດ?ຈະປອ່ຍນັກໂທກການເມືອງ
พม่าประกาศไร้นักโทษการเมือง หลังเต็งเส่งอภัยโทษล่าสุด
นายยาน นาย ตุน นักเคลื่อนไหวสันติภาพ ให้สัมภาษณ์กับบรรดาผู้สื่อข่าวที่รุมล้อมหลังได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำ อินเส่ง ในนครย่างกุ้ง วันที่ 31 ธ.ค.
ในการประกาศอภัยโทษครั้งล่าสุด ซึ่งทางการพม่าประกาศว่าไม่มีนักโทษการเมืองเหลืออยู่ ซึ่งเป็นไปตามที่ประธานาธิบดีเต็งเส่งให้คำมั่นไว้ว่าพม่า
จะไม่มีนักโทษการ เมืองภายในสิ้นปี 2556
ทางการพม่าระบุวันนี้ (31) ว่า ประเทศไม่มีนักโทษการเมืองเหลืออยู่ภายในสิ้นปี หลังมีการประกาศอภัยโทษครั้งล่าสุดพร้อมกับปล่อยตัวนักโทษอีกส่วนหนึ่ง ด้านนักรณรงค์แสดงความวิตกกังวลว่าอาจยังมีผู้ต่อต้านรัฐอีกจำนวนมากถูกควบ คุมตัวอยู่ในเรือนจำ พม่าที่ได้ให้คำมั่นว่าจะปล่อยนักโทษการเมืองทุกคนภายในสิ้นปี 2556 ได้ประกาศอภัยโทษหลายครั้ง อันเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูป นับตั้งแต่สิ้นสุดการปกครองของรัฐบาลเผด็จการทหารเมื่อเกือบ 3 ปีก่อน อย่างไรก็ตาม ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าการประกาศอภัยโทษในครั้งนี้จะส่งผลต่อนักโทษการเมือง ทั้งหมด ตามที่นักรณรงค์ระบุว่ามีอยู่ราว 40 คน รวมทั้งผู้ที่รอรับการพิจารณาคดีอีก 200 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ชุมนุมประท้วงโดยไม่ได้รับอนุญาต ทางการพม่าระบุเมื่อวันจันทร์ว่าจะอภัยโทษบรรดาผู้ที่ถูกควบคุมตัว ภายใต้กฎหมายอันเป็นที่โต้เถียง ซึ่งรวมทั้งจากกฎหมายที่รัฐบาลเผด็จการทหารใช้ในการควบคุมตัวผู้เห็นต่าง กฎหมายที่ควบคุมเสรีภาพในการชุมนุมและสิทธิในการประท้วง นายเย ตุ๊ต โฆษกประธานาธิบดีเต็งเส่ง กล่าวว่า การอภัยโทษครั้งนี้ ซึ่งมีขึ้นพร้อมกับการอภัยโทษนักโทษอีก 5 คน ที่ถูกคุมขังภายใต้กฎหมายอื่นนั้น เท่ากับว่าไม่มีนักโทษการเมืองเหลืออยู่อีก "ผมต้องการที่จะกล่าวว่าประธานาธิบดีได้บรรลุตามคำมั่นที่ให้ไว้ต่อ ประชาชน เพราะไม่มีนักโทษการเมืองเหลืออยู่อีกในสิ้นปี 2556" นายเย ตุ๊ต เขียนข้อความลงบนเฟซบุ้ค แต่ไม่ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการปล่อยตัวที่เริ่มขึ้นตั้งแต่วันนี้ (31) เพิ่มเติม ประธานาธิบดีเต็งเส่งได้รับเสียงชื่นชมจากนานาประเทศและได้รับการยก เลิกมาตรการคว่ำบาตรจากชาติตะวันตกสำหรับการปฏิรูปเสรีภาพทางการเมืองและ สังคม นับตั้งแต่ขึ้นเป็นประธานาธิบดีมาเกือบ 3 ปี แต่นายเต็ต อู ตัวแทนกลุ่มอดีตนักโทษการเมืองในนครย่างกุ้ง ระบุว่ายังไม่สามารถที่จะกล่าวได้ว่าไม่มีนักโทษการเมืองเหลืออยู่เลยในตอน นี้ แต่ก็หวังให้นักเคลื่อนไหวที่ถูกควบคุมตัวได้รับการปล่อยตัวในอีกไม่กี่วัน ข้างหน้า ซึ่งต้องเฝ้ารอดู การจำคุกผู้คนอย่างไร้เหตุผลเป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาลเผด็จการทหาร ที่ปฏิเสธการมีอยู่ของนักโทษการเมือง แม้แต่กำหนดบทลงโทษรุนแรงต่อนักเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิมนุษยชน นักข่าว ทนาย และนักแสดง ก่อนการปฏิรูปประเทศ กลุ่มสิทธิมนุษยชนกล่าวหาว่าพม่าจำคุกนักโทษการเมืองราว 2,000 คน นักโทษการเมืองส่วนใหญ่ได้รับการปล่อยตัวเป็นอิสระภายใต้การอภัยโทษ หลายครั้งก่อนหน้านี้ แต่นักโทษการเมืองหลายคนถูกจับกุมตัวซ้ำเนื่องจากกิจกรรมที่พวกเขายังคง ดำเนินต่อ นายยาน วิน โฆษกพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ของนางอองซานซูจี กล่าวยินดีกับการอภัยโทษครั้งนี้ และว่าการอภัยโทษครั้งนี้มีความหมายทางเทคนิคว่าไม่มีนักโทษการเมืองเหลือ อีก "เราควรที่จะพูดว่าไม่มีนักโทษภายใต้ข้อหาทางการเมือง และเราต้องตรวจสอบว่ามีคนที่ถูกจำคุกภายใต้ข้อหาอื่นๆ อยู่หรือไม่" นายยาน วิน กล่าว บรรดาญาติและมิตรสหายหลายสิบคนรวมตัวกันอยู่ภายนอกเรือนจำอินเส่ง ในนครย่างกุ้ง ที่มีนักโทษอย่างน้อย 9 คนได้รับการปล่อยตัวในวันนี้ (31) แต่ยังไม่ชัดเจนว่าทั้ง 9 คน นี้ เป็นนักโทษการเมืองกี่คน ยาน นาย ตุน และอ่อง มิน อู นักเคลื่อนไหวสันติภาพ ที่เมื่อไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมาถูกตัดสินจำคุกนาน 8 เดือน ในความผิดฐานเดินขบวนไปยังเมืองลายซา รัฐกะฉิ่น ได้รับการต้อนรับจากบรรดาผู้สนับสนุนขณะที่พวกเขาเดินออกจากเรือนจำ "ผมเคารพประธานาธิบดีต่อการรักษาสัญญาของเขา" ยาน นาย ตุน กล่าวกับผู้สื่อข่าว การอภัยโทษครั้งล่าสุด ยังครอบคลุมไปถึงผู้ที่ถูกตัดสินความผิดจากกฎหมายสุดอื้อฉาวในสมัยอดีต รัฐบาลเผด็จการทหารที่ใช้กับบรรดาผู้ที่วิพากษ์วิจารณ์ รวมทั้งนางอองซานซูจี ที่ในเวลานี้เป็นสมาชิกรัฐสภา หลังการปฏิรูปประเทศ แต่การอภัยโทษครั้งนี้ไม่ได้ครอบคลุมไปถึงผู้ที่ถูกจับกุมตัวหลังวันที่ 31 ธ.ค. ด้านเจ้าหน้าที่เรือนจำกล่าวว่า พวกเขาไม่ทราบกำหนดเวลาการปล่อยตัวผู้ที่ได้รับการอภัยโทษ และอาจต้องใช้เวลาในการระบุตัวผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการอภัยโทษนี้.
พรรคแกนนำรัฐบาลพม่าเผย อาจมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งรวมถึงมาตราที่
ห้ามผู้นำฝ่ายค้าน นางออง ซานซูจี ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
รัฐธรรมนูญฉบับ ปัจจุบัน มีมาตราที่ห้ามผู้ใดก็ตามที่มีคู่สมรสหรือทายาทเป็นชาวต่างชาติ ลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยนางซูจีแต่งงานกับนักวิชาการชาวอังกฤษ "ไมเคิล อาริส" และมีบุตรชายด้วยกัน 2 คน ขณะที่การเสนอแก้ไขระบุว่า ผู้สมัครรับเลือกตั้งจะต้องมีพ่อเเม่ คู่สมรส และลูก เป็นชาวพม่า
สมาชิกพรรคสหภาพเอกภาพและการพัฒนาหรือยูเอสดีพี "นายหย่า เช" กล่าวว่า การแก้ไขดังกล่าวจะทำให้นางออง ซานซูจี สามารถลงสมัครรับเลือกตั้ง หากลูกชายของเขาได้รับสัญชาติพม่า พร้อมกับเพิ่มเติมว่า พรรคของเขา ซึ่งเป็นพรรคแกนนำรัฐบาลพม่าในปัจจุบัน เตรียมนำเสนอญัตติแก้ไขรัฐธรรมนูญเข้าสู่รัฐสภา ในเร็ววันนี้
ความเคลื่อนไหวดังกล่าว นับเป็นอีกความพยายามที่ทางการพม่าแสดง ให้เห็นถึงเจตนาในการปฏิรูปประเทศ หลังเมื่อวานนี้ มีการปล่อยตัวนักโทษการเมืองอีก 5 คน ซึ่งทางการประกาศว่า ได้นิรโทษกรรมให้กับนักโทษการเมืองทั้งหมด และระบุว่าปัจจุบันพม่าไม่มีนักโทษการเมืองหลงเหลืออยู่แล้ว
นับตั้งแต่ที่ ประธานาธิบดีเต็งเส่ง ขึ้นบริหารประเทศตั้งแต่ปี 2554 มีการดำเนินนโยบายปฏิรูปประเทศหลายด้านทั้ง เศรษฐกิจ การเมืองและสังคม จนได้รับเสียงชื่นชมจากนานาประเทศ
ຈະໃຫ້ຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອົານັ້ນໂທດການເມືອງມາແຕ່ໃສມາປ່ອຍ
ພີ່ນ້ອງເອີຍ ເພາະນັກໂທກການເມືອງຂອງ ສປປ ລາວ ນັ້ນ ຣັຖະບານ
ສັ່ງເອົາໄປງົມຫອຍຢູ່ແກ້ງຍາງໝົດແລ້ວ. ຣັຖະບານຜເດັດການແບບ
ສປປ ລາວ ບໍ່ມີທາງພວກເຂົາຈະຈົ່ງຊີວິດຂອງນັກໂທດທີ່ເປັນປໍຣະປັກ
ກັບເຂົ້າ ເບິ່ງຄົວຢ່າງທ່ານສົມບັດສົມພອນນັ້ນ, ຄົນລາວໃຜໆກໍຮູ້ວ່າຣັຖ
ບານສົ່ງເດັດຊີບຂອງທ່ານສົມບັດສົມພອນ ແມ້ແຕ່ເດັກນ້ອຍຮຽນຢູ່ອະ
ນຸບານແລະປໍ1 ກໍຍັງເບິ່ງອອກແລະຮູ້ວິຖີການຂອງການຈັບກຸມ. ຕ່າງແຕ່
ວ່າ ມີໃຜປາກໄດ້? ຣັຖະບານປະຕິເສດລູກດຽວວ່າບໍ່ຮູ້ບໍ່ຈັກບໍ່ເຫັນ.
Anonymous wrote:ຈະໃຫ້ຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອົານັ້ນໂທດການເມືອງມາແຕ່ໃສມາປ່ອຍພີ່ນ້ອງເອີຍ ເພາະນັກໂທກການເມືອງຂອງ ສປປ ລາວ ນັ້ນ ຣັຖະບານສັ່ງເອົາໄປງົມຫອຍຢູ່ແກ້ງຍາງໝົດແລ້ວ. ຣັຖະບານຜເດັດການແບບສປປ ລາວ ບໍ່ມີທາງພວກເຂົາຈະຈົ່ງຊີວິດຂອງນັກໂທດທີ່ເປັນປໍຣະປັກກັບເຂົ້າ ເບິ່ງຄົວຢ່າງທ່ານສົມບັດສົມພອນນັ້ນ, ຄົນລາວໃຜໆກໍຮູ້ວ່າຣັຖບານສົ່ງເດັດຊີບຂອງທ່ານສົມບັດສົມພອນ ແມ້ແຕ່ເດັກນ້ອຍຮຽນຢູ່ອະນຸບານແລະປໍ1 ກໍຍັງເບິ່ງອອກແລະຮູ້ວິຖີການຂອງການຈັບກຸມ. ຕ່າງແຕ່ວ່າ ມີໃຜປາກໄດ້? ຣັຖະບານປະຕິເສດລູກດຽວວ່າບໍ່ຮູ້ບໍ່ຈັກບໍ່ເຫັນ.
ຖ້າເບິ່ງມື້ນຶ່ງປະຊາຊົນລາວບັນດາເຜົ່າຊິຢຽບໃສ້ມັນ ພວກສັດນະລົກຍາດໝາມາເກີດ.
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ຈະໃຫ້ຣັຖະບານ ສປປ ລາວ ເອົານັ້ນໂທດການເມືອງມາແຕ່ໃສມາປ່ອຍພີ່ນ້ອງເອີຍ ເພາະນັກໂທກການເມືອງຂອງ ສປປ ລາວ ນັ້ນ ຣັຖະບານສັ່ງເອົາໄປງົມຫອຍຢູ່ແກ້ງຍາງໝົດແລ້ວ. ຣັຖະບານຜເດັດການແບບສປປ ລາວ ບໍ່ມີທາງພວກເຂົາຈະຈົ່ງຊີວິດຂອງນັກໂທດທີ່ເປັນປໍຣະປັກກັບເຂົ້າ ເບິ່ງຄົວຢ່າງທ່ານສົມບັດສົມພອນນັ້ນ, ຄົນລາວໃຜໆກໍຮູ້ວ່າຣັຖບານສົ່ງເດັດຊີບຂອງທ່ານສົມບັດສົມພອນ ແມ້ແຕ່ເດັກນ້ອຍຮຽນຢູ່ອະນຸບານແລະປໍ1 ກໍຍັງເບິ່ງອອກແລະຮູ້ວິຖີການຂອງການຈັບກຸມ. ຕ່າງແຕ່ວ່າ ມີໃຜປາກໄດ້? ຣັຖະບານປະຕິເສດລູກດຽວວ່າບໍ່ຮູ້ບໍ່ຈັກບໍ່ເຫັນ. ຖ້າເບິ່ງມື້ນຶ່ງປະຊາຊົນລາວບັນດາເຜົ່າຊິຢຽບໃສ້ມັນ ພວກສັດນະລົກຍາດໝາມາເກີດ.
ຂພຈ ເອງກໍ່ຄິດຄືກັບທ່ານນັ້ນແຫລະ ນັກໂທດການເມືອງລາວບໍ່ມີແລ້ວທີ່ຖືກຈັບຂັງຢູ່ໃນຂະນະນີ້້ ນັກໂທດການເມືອງທີ່ເຄີຍຖືກຂັງ ຄົງຈະບໍ່ມີອາຍຸເກີນ 5 ປີດອກ ຢູ່ໃນຄຸກ
ມັນຄົງບໍ່່ເກັບໄວ້ລ້ຽງໃຫ້ເປືອງເຂົ້່າສຸກມັນແນ່ນອນ ເພາະມັນບໍ່ໄດ້ມີເຈດຕະນາ ຈັບກຸມເພື່ອດັດສ້າງຫຍັງທັງນັ້ນ ມັນມີແຕ່ຈັບກຸມໄປທໍລະມານຈົນກ່ວາຈະຕາຍ
ໂອຍນໍຄົນລາວເອີຍພວກທ່ານເອົາຄວາມໃດມາເວົ້າວ່າອີກດົນປານໃດ
ຣັຖບານລາວຈະປອ່ຍນັກໂທດການເມືອງຢູ່ໃນລາວ ຂໍຖາມທາ່ນແດ່ວ່າ
ຕາແຕກພວກທ່ານບໍ່ເບີ່ງບໍນັກໂທດການເມືອງຢູ່ໃນລາວມີຢູ່ໃສພວກ
ຄອມມີວນິດກິນໝາເອົາພວກຂະເຈົ້າໄປງົມຫອຍໝົດແລ້ວຫວັງວ່າ
ທ່ານຄົງຮູ້ແລະເຂົ້າໃຈດີ
ຢູ່ລາວ ພວກພັກລັດ ມັນບໍ່ໃຊ້ກົດໝາຍອາຍາໝວດໂທດທາງການເມືອງ ມາຈັດການກັບຜູ້ປໍລະປັກທາງການເມືອງດອກ ເພາະມັນເສັຍເວລາ ເສັຍໜ້າ ຢ້ານພີ່ນ້ອງ ໂລກເຂົາທັກທ້ວງ ແລ້ວພວກມັນຈະເສັຍໜ້າ
ຍີ່ງຈັບຂັງ ພວກມັນຍິ່ງຈະຖືກຖາມຫລາຍ ເພາະເຮັດຜິດ ລະເມີດສິດທິມະນຸດຕໍ່ຄົນລາວດ້ວຍກັນມາຫລາຍ ມັນຈຶ່ງນິຍົມໃຊ້ວິທີການອຸ້ມ ເຮັດໃຫ້ຫາຍສາບສູນ.
ມີແຕ່ໃຫ້ຄົນລາວຜູ້ຮັກຄວາມເປັນທຳ ນິຍົມສິດ ເສລີພາບ ປະຊາທິປະໄຕ ມີສະຕິລະມັດລະວັງຕົວ ເປັນຫູເປັນຕາຊ່ວຍກັນ ໃຊ້ກ້ອງໂທລະສັບໃຫ້ທີ່ມີຕິດຕົວໄວ້ຕະຫລອດ ເພື່ອບັນທຶກພາບ ບັນທຶກສຽງ
ເອົາພຶດຕິກຳທີ່ເປັນໄພຄຸກຄາມຕໍ່ພວກເຮົາ ແລ້ວເປີດໂປງມັນເປັນລາຍວັນ