ກໍລະນີການສ້າງທາງລົດໄຟຄວາມໄວສູງຂອງຈີນຜ່ານຈາກຊາຍແດນ ລາວ-ຈີນ ລົງມາເຖິງນະຄອນຫລວງ ວຽງຈັນ
ໃນລະຍະຄວາມຍາວປະມານ 4 ຫາ 500 ກິໂລແມັດ ນັ້ນ, ລັດຖະບານ ສປປ ລາວ ຄວນທົບທວນຄືນໃໝ່ເຖິງຜົນ
ໄດ້ຜົນເສັຽຂອງປະເທດເປັນຫລັກ ຊຶ່ງນັກວິໄຈທາງດ້ານທຸລະກິດລົດໄຟຄວາມໄວສູງຈາກມະຫາວິທະຍາໄລຊື່ດັງແຫ່ງ
ນຶ່ງຂອງຍີ່ປຸ່ນໄດ້ຖະແຫລງອອກສູ່ສື່ອອນລາຍເມື່ອຕົ້ນເດືອນມັງກອນຂອງປີນີ້ວ່າ ຖ້າ ສປປ ລາວ ຍັງສືບສານການກໍ່
ສ້າງເສັ້ນທາງລົດໄຟຄວາມໄວສູງຂອງຈີນ ຜົນປະໂຫຍດທີ່ ສປປ ລາວ ຈະໄດ້ຮັບຈາກແຜນການນີ້ແມ່ນເກືອບຈະແລ
ບໍ່ເຫັນວ່າມີຫລາຍເຖິງເຄິ່ງເປີເຊັນ (0.5%) ເລີຍ. ຜົນປະໂຫຍດທັງໝົດຫລື (99.5%) ນັ້ນແມ່ນຕົກໄປເປັນ
ຂອງຈີນທັງໝົດ. ສີ່ງທີ່ ສປປ ລາວ ຈະສູນເສັຽອັນມະຫາສານທີ່ສຸດນັ້ນແມ່ນເນື້ອທີ່ຕາດິນສອງຂ້າງທາງສາຍລົດໄຟ
ທີ່ມີໜ້າກ້ວາງຂ້າງລະ 5 ກລມ. ລວມເປັນສິບກິໂລແມັດຂອງສອງຂ້າງທາງລົດໄຟ ແລະ ຄວາມຍາວຂອງເສັ້ນທາງ
ລົດໄຟເສັ້ນນີ້ປະມານ 500 ກລມ. ເມື່ອມາຄິດໄລ່ເບິ່ງແລ້ວ ສປປ ລາວ ຈະສູນເສັຽທີ່ດິນໃຫ້ຈີນຟຣີໆມີຫລາຍກ່ວາ
5000km2.(ຫ້າພັນກິໂລແມັດກາເຣ). ຈີນຈະຂົນປະຊາຊົນພວກເຂົາເຂົ້າມາຕັ້ງຖິ່ນຖານຢູ່ຕາມສອງຝາກຂ້າງ
ຂອງເສັ້ນທາງນັບເປັນຫລາຍພັນຄອບຄົວ ແລະ ກໍຈະຢູ່ອາໄສທຳມາຫາກິນບົນຜືນແຜ່ນດິນລາວແບບຟຣີໄປນານທີ່
ສຸດ ນານຈນກ່ວາຈີນຈະຍຸບໃຊ້ເສັ້ນທາງລົດໄຟເສັ້ນນີ້ຂອງເຂົາ, ນັກວິເຄາະຍັງກ່າວອອກມາອີກວ່າ ຄຸນນະພາບຂອງ
ລົດໄຟແລະເສັ້ນລາງຂອງມັນຈະມີມາດຕະຖານສູງທີ່ສ່ຽງຕໍ່ຄວາມປອດໄພຫລືບໍ່? ເພາະສິນຄ້າຫລືຍານພາຫະນະ
ຂອງຈີນຮວມທັງລົດໄຟຄວາມໄວສູງຂອງຈີນແມ່ນບໍ່ໄດ້ມາດຕະຖານສາກົນ ມີຄວາມສ່ຽງຕໍ່ອຸບັດເຫດສູງ.
ຫວັງວ່າລັດຖະບານ ສປປ ລາວ ຄວນທວນຄືນອີກຄັ້ງກ່ອນຈະຕົກລົງໃຫ້ຈີນສ້າງທາງລົດໄຟຂອງເຂົາຜ່ານປະເທດ
ຖ້າຈີນຢາກສ້າງກໍຄວນມີສັນຍາອະນຸຍາດໃຫ້ເຂົາລໄງທຶນສ້າງເອງ ບໍ່ຍອມເສັຽທີ່ດິນສອງຂ້າງທາງໃຫ້ເຂົາ ບໍ່ຍອມ
ເຊັນຮັບເງື່ອນໄຂໃດໆກັບເຂົາ ແລະ ເຊັນສັນຍາເກັບຄ່າທາງລົດໄຟທີ່ຜ່ານປະເທດຕາມສົມຄວນຄວນທີ່ຈິເປັນວ່າປີ
ນຶ່ງເທົ່າໃດ?
ເຈັກແປະ ໂງ່ ແລ້ວ ອວດສະຫຼາດ
ຕອ້ງເບິ່ງໄທຍເປັນຕົວຢ່າງ ວ່າເຂົາຕົກລົງກັນແບບໃດ
ການລົງທຸນມັນຕ້ອງຮວ່ມກັນທັງສອງຝ່າຍ ບໍ່ແມ່ນໃຫ້ແຕ່ຈີນຝ່າຍດຽວ
ລາວເປັນຜູ້ກູ້
ดูเหมือนการเจรจาโครงการรถไฟไทย-จีนจะยังหาข้อสรุปไม่ได้ทั้ง ๆ ที่ออกข่าวมาระยะหนึ่งเสมือนว่าทุกอย่างจะลงตัว แต่หลังสุดรองนายกฯสมคิด จาตุศรีพิทักษ์แสดงจุดยืนที่ชัดเจนให้คนไทยทั่วไปได้เห็น
นั่นคือจีนต้องรับหลักการใหญ่ก่อน อันหมายถึงการตั้งบริษัทร่วมทุน จากนั้นจึงมาพูดเรื่องรายละเอียด
ทำให้หลายคนที่ติดตามเรื่องนี้งุนงงเล็กน้อย นึกว่าที่ผ่านมามีการพูดจากันชัดเจนถึงขั้นจะลงมือสร้างกันแล้วในเร็ว ๆ วัน
ประเด็นหลักสองเรื่องที่ว่ากันว่าต้องเจรจากันคือยอดเงินลงทุนที่ไทยวางไว้ 400,000 กว่าล้าน และฝ่ายจีนเสนอมาที่ 500,000 กว่าล้าน
และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่จีนเสนอมาที่ 2.5% แต่ไทยขอให้ลดลงเหลือ 2% เพราะญี่ปุ่นเสนอต่ำกว่านั้น แต่ฝ่ายจีนยืนยันว่าถูกที่สุดแล้ว แต่ก็พร้อมจะพูดจาให้ได้ประโยชน์ทั้งคู่
แต่เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ดร. สมคิดเปิดประเด็นใหม่
โดยบอกว่าได้มอบหมายให้รัฐมนตรีคลังและรัฐมนตรีคมนาคมเดินทางไปเจรจา โครงการรถไฟไทย-จีนกับฝ่ายจีน โดยที่ฝ่ายไทยต้องการให้ฝ่ายจีนรับหลักการใหญ่ที่ไทยเสนอก่อน นั่นคือตั้ง “บริษัทร่วมทุนร่วมกัน”
ถ้าตกลงหลักการนี้ได้ จึงพูดถึงสัดส่วนการถือหุ้น
“การทำงานใหญ่จะต้องเอาองค์กรให้เกิดขึ้นก่อน แล้วค่อยมาคุยกันในรายละเอียด ถ้ามัวแต่พูดว่าดอกเบี้ยกี่เปอร์เซ็นต์ มันจะเกิดได้อย่างไร? ให้ข้างล่างทะเลาะกัน ข้างบนก็ไม่จบสักที อย่างนี้ไม่ได้...” รองนายกฯสมคิดบอกนักข่าว
และเสริมต่อว่าได้ “ฟ้องทูตจีนไปแล้ว” ซึ่งผู้ใหญ่ฝั่งโน้นก็รู้เรื่องและอยากให้จบ จะได้เดินต่อ
ทำไมจึงเป็นเช่นนี้? ฟังจากอธิบายของคุณสมคิดแล้วก็จะเข้าใจว่าฝ่ายไทยต้องการให้จีนรับผิดชอบต้น ทุนการลงทุนโครงการร่วมกับฝ่ายไทยที่เรียกว่า cover cost ไม่ใช่ให้ฝ่ายจีนร่วมทุนเฉพาะการเดินรถเพียงอย่างเดียว
“ได้บอกกับทางจีนไปว่า หากคุณเริ่มเมื่อไหร่ ผมก็จะไปเมื่อนั้น ซึ่งจีนอยากให้ไทยไปเยือนมาก แต่ก็ได้แจ้งไปว่าขอให้เรื่องรถไฟเดินหน้าเสียก่อน ไม่เช่นนั้นไปแล้วก็กระอักกระอ่วน...”
อ่านระหว่างบรรทัด, ก็พอจะเข้าใจว่าตอนนี้มีความ “กระอักกระอ่วน” เพราะไทยต้องการให้ฝ่ายจีน “ร่วมหัวลงโรง” ในโครงการนี้ คือทำเป็นการลงทุนร่วมกัน ไม่ใช่เพียงแค่จีนให้ไทยกู้ และร่วมทุนเฉพาะเรื่องการเดินรถ
อย่างนี้เท่ากับโอนความเสี่ยงหลัก ๆ มาอยู่กับฝ่ายไทยฝ่ายเดียว
โครงการรถไฟไทย-จีนได้กลายเป็นสัญญลักษณ์แห่งความสัมพันธ์ของสองประเทศไป แล้ว มิใช่เป็นเพียงเรื่องการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคม เพราะความสำเร็จหรือล้มเหลวของการเจรจาจะอยู่ที่การที่ทั้งสองฝ่ายจะวาง เงื่อนไขที่รับได้ทั้งสองประเทศ และไม่ให้เกิดความรู้สึกได้เปรียบเสียเปรียบต่อกันและกัน
จึงเป็นเรื่องที่ถูกต้องแล้วที่รองนายกฯสมคิดได้แสดงจุดยืนเรื่องนี้ อย่างเปิดเผย ให้ประชาชนคนไทยได้รับรู้ถึงประเด็น, เงื่อนไขและรายละเอียดที่เรากำลังเจรจากับฝ่ายจีน เพราะหาไม่แล้วก็จะเกิดเสียงครหาว่าเราถูกกดดันหรือบีบคั้น จนต้องลงทุนด้วยเงินมหาศาล แต่ไม่อาจจะประเมินผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง
จนมีการเสนอจากผู้วิเคราะห์บางฝ่ายว่าเราควรจะยกเลิกโครงการนี้ไปด้วยซ้ำ
จึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลไทยที่จะเดินหน้าเรื่องนี้ไปอย่างโปร่งใส บอกกล่าวให้สาธารณชนได้ทราบทุกระยะและทุกรายละเอียดเพื่อภาครัฐกับเอกชนและ นักวิชาการผู้มีประสบการณ์และความรู้ความสามารถวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียจะได้ ประเมินทุกขั้นตอนของโครงการอย่างละเอียดรอบด้าน
ກໍ່ຍ້ອນ ພັກ-ລັດ ກໍ່ຄືກົມການເມືອງ ແລະ ພວກຫົວແມງວັນຂຽວ 11 ໂຕ ທີ່ມັກດົມຂອງເໜັນ
ຕ່າງປະເທດໂດຽສະເພາະຂອງ ແກວ ແລະ ເຈັກ.