นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว “ทองลุน สีสุลิด” เยือนขอนแก่น พร้อมบรรยายพิเศษที่วิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มข. ลั่นสิ้นปี 2020 ลาวต้องหลุดพ้นจากประเทศด้อยพัฒนา และอีก 10 ปีหลังจากนั้นต้องก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางถึงสูง โดยรายได้หลักของชาติยังคงเป็นอุตสาหกรรมผลิตพลังงานไฟฟ้าขายให้เพื่อนบ้าน รายงานข่าวแจ้งว่า เมื่อหัวค่ำวันที่ 6 ก.ค.ที่ผ่านมา เวลาประมาณ 18.30 น. ที่ห้องประชุมพีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น(มข.) นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ได้บรรยายพิเศษในหัวข้อ “สปป. สู่อนาคตการพัฒนา” ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ โดยมีพ่อค้า นักธุรกิจ คณาจารย์และนักศึกษาเข้ารับฟังหลายร้อยคน ทั้งนี้ นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว กล่าวถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ สปป.ลาว ว่ายังดำเนินการตามแนวนโยบายพัฒนาชาติภายใต้ 17 แผนการหลัก เพื่อให้ สปป.ลาวหลุดพ้นจากประเทศที่ด้อยพัฒนาให้สำเร็จ ที่ผ่านมารัฐบาลได้ดำเนินการมาอย่างเต็มที่ และเปิดโอกาสให้กับนักธุรกิจจากต่างประเทศและภายในประเทศได้ลงทุนและทำ ธุรกิจเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนชาวลาว โดยแผนการในระยะแรกในปี 2018 จะมุ่งเน้นการทำวิจัยและศึกษาข้อมูลถึงความเป็นไปได้ในแนวทางการดำเนินงาน ทุกมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายให้แก่ประชาชนอย่างยั่งยืนและ เท่าเทียม และนำพา สปป.ลาวประกาศหลุดพ้นจากประเทศด้อยพัฒนาให้ได้ในปี 2020 และในปี 2025 สปป.ลาวจะก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลาง ซึ่งรายได้ของคนลาวต่อหัวต่อปีจะต้องไม่น้อยไปกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ และในปี 2030 สปป.ลาวจะเป็นประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลางถึงระดับสูง แผนการทั้งหมดได้ถูกกำหนดไว้ ซึ่งคณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันจะต้องร่วมกันดำเนินงานเพื่อสร้างอาชีพ สร้างงาน และเพิ่มสัดส่วนรายได้ให้แก่ประชาชนชาวลาวทั้ง 6 ล้านคนให้สำเร็จ นายทองลุนกล่าวต่อว่า มาเยือนไทยครั้งนี้ได้นำคณะฯ เข้าพบกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีของไทย ซึ่งลาวนั้นเป็นประเทศที่ผลิตพลังงานเพื่อจำหน่ายโดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้า ซึ่งในการหารือกับตัวแทนรัฐบาลไทย ลาวได้ขอร้องให้รัฐบาลไทยเพิ่มสัดส่วนการซื้อไฟฟ้าจากลาว จากเดิมปีละ 7,000 เมกะวัตต์ เป็น 10,000 เมกะวัตต์ ซึ่งที่ประชุมเห็นพ้องและสรุปตกลงกันที่รัฐบาลไทยจะซื้อไฟฟ้าจากลาวปีละ 9,000 เมกะวัตต์ ขณะที่การพัฒนาร่วมกันในด้านต่างๆ โดยเฉพาะโครงการรถไฟความเร็วสูง จีน-ลาว-ไทย ซึ่งลาวจะเริ่มการก่อสร้างในช่วงเดือน ธ.ค. 2559 นี้ ดังนั้นยังคงจะต้องขอแรงสนับสนุนจากรัฐบาลไทยในการดำเนินการตามโครงการดัง กล่าวเพื่อให้สามารถที่จะเชื่อมต่อทางรถไฟต่อกันให้ได้ทั้ง 3 ประเทศ “ขณะนี้ลาวเป็นประธานอาเซียน ก็จะมีการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานของทั้ง 10 ประเทศอย่างเต็มที่ และลาวพร้อมให้การสนับสนุนแผนงานขับเคลื่อนของกลุ่มประเทศตามลำน้ำโขง CLMVT อย่างเต็มความสามารถเช่นกัน เพื่อให้การดำเนินงานร่วมกันของทุกฝ่ายนั้นบรรลุข้อตกลงและเป็นไปในแนวทาง การพัฒนาร่วมกัน” นายทองลุนกล่าว และว่า ขณะที่การส่งเสริมการค้าและการลงทุนนั้น ลาวจะเป็นประเทศเชื่อมต่อหรือคนกลางในการประสานงานกับนานาประเทศในรูปแบบของ การเปิดกว้างและรับฟังในทุกรายละเอียด และแม้ว่าลาวจะไม่มีท่าเรือที่จะเป็นศูนย์กลางทางการขนส่ง แต่ลาวจะเป็นศูนย์กลางในการคมนาคมขนส่ง และมีจุดกระจายสินค้า หรือเรียกว่าท่าเรือบก ที่ใหญ่ที่สุดของอาเซียนในอนาคต อย่างไรก็ตาม สำหรับปมปัญหาและพื้นที่พิพาททับซ้อนระหว่างไทยกับลาว โดยเฉพาะตามแนวเขตชายแดนและพื้นที่ตามลำน้ำโขง รัฐบาลลาวให้การสนับสนุนในการร่วมสำรวจและกำหนดเขตแดนให้ชัดเจนเช่นกัน โดยขอร้องให้ไทยจัดส่งนักวิชาการ โดยเฉพาะจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นเข้าร่วมศึกษาในรายละเอียดต่างๆ สำหรับภารกิจของนายกรัฐมนตรีแห่ง สปป.ลาว ในพื้นที่ จ.ขอนแก่น นอกจากปาฐกถาพิเศษแล้วยังได้เข้ารับมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน รวมทั้งเยี่ยมชมและพบปะผู้ประกอบการไทยที่ประสบผลสำเร็จและลงทุนใน สปป.ลาว, การมอบเหรียญชัยมิตรภาพแก่คณะกรรมการสมาคมไทย-ลาว เพื่อมิตรภาพ การร่วมประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีของคนอีสาน หลังจากนั้น คณะของนายกรัฐมนตรี สปป.ลาวได้รับประทานอาหารค่ำร่วมกับคณะกรรมการสมาคมไทย-ลาว เพื่อมิตรภาพ, คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก่อนที่ทางคณะเดินทางกลับด้วยเที่ยวบินพิเศษของสายการบินลาว จากท่าอากาศยานขอนแก่นไปยังท่าอากาศยานวัดไต นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว
ບໍ່ຕ້ອງ ຂີ່ໂມ້ ຖ້າປາບຄົນໂກງຊາດບໍ່ໄດ້ ຢ່າວ່າແຕ່ປິ 2020ເລີຍ ຕໍ່ໃຫ້ອີກ ປິ2050
ກໍເຮັດບໍ່ໄດ້
ໝໍນີ້ ຫວັງປຸ້ນປະຊາຊົນໃນຊາດກີນ ໃນການຂາຍໄຟຟ້າ
ຄົວເຮືອນເດືອນ ລະ 66. ລ້ານກີບ
ເພາະວ່າເພິງພາແນວອື່ນບໍ່ໄດ້ແລ້ວ
ບໍ່ແຮ່ ທອງຄຳກໍໝົດປ່າໄມ້ກໍໝົດ
ຊິ້ນເປືອງ ງົບປະມານພັກລັດ
ຕະຝັ່ງເຈືອນຊໍ້າແລ້ວຊໍ້າອີກຢູ່ເມືອງປາກຊັນ ແຂວງບໍລິຄຳໄຊ
ເຊິ່ງແນວກັ້ນຕະຝັ່ງດັ່ງກ່າວສ້າງໃກ້ຈະສຳເລັດ ສຸດທ້າຍໄດ້ເກີດດິນຢຸບ
ການອອກແບບໂຄງສ້າງ ຂາດນັກວິຊາການ ແລະບໍ່ໄດ້ມາດຕະຖານ
Anonymous wrote:ຊິ້ນເປືອງ ງົບປະມານພັກລັດຕະຝັ່ງເຈືອນຊໍ້າແລ້ວຊໍ້າອີກຢູ່ເມືອງປາກຊັນ ແຂວງບໍລິຄຳໄຊເຊິ່ງແນວກັ້ນຕະຝັ່ງດັ່ງກ່າວສ້າງໃກ້ຈະສຳເລັດ ສຸດທ້າຍໄດ້ເກີດດິນຢຸບ ການອອກແບບໂຄງສ້າງ ຂາດນັກວິຊາການ ແລະບໍ່ໄດ້ມາດຕະຖານ
ເຮັດແນວໃດໄດ້ແນວມີແຕ່ພວກ ດລ(ດາກລີງ)ເພາະໄປຮຽນເຊັດກົ້ນລີງຢູ່ສວນສັດແກວ ແລະ ສຈ(ສີ້ຈຸ່ມ)
ຍິງແກວເຖົ້າເມຍຜູ້ນຳແກວທີ່ຜົວມັນເຮັດໃຫ້ບໍ່ພໍ,ມັນຈ່ອງແອວໄວ້ແຖມຢາກອັນຂອງໝຸ່ມລາວ(ນີ້ຄືທີ່ມາຂອງ ສຈ,ດລ)
.ແລ້ວອີ່ແກວເຖົ້າກໍ່ໄປເວົ້ານຳຜົວມັນກະເລີຍໄດ້ ດລ ແລະ ສຈ ຈາກແກວມາອວດ ແລ້ວມັນຈະເຮັດຫັຽງໄດ້ທີ່ໃຫ້ຄຸນນະພາບ.
ແຕ່ເລື່ອງຂົ່ມເຫັງເຕັງເຕັກປະຊາຊົນລາວຍຶເອົາດິນໃຫ້ດິນນາ,ຂາຍຊັພຍາກອນຂອງຊາດແມ່ນຍົກໂປ້ໃຫ້ມັນໂລດ ສຈ,ດລ ພວກນີ້ນະ.
wrote:นายกฯ ลาวลั่นสิ้นปี 2020 ต้องหลุดพ้นประเทศด้อยพัฒนา เดินหน้าผลิตพลังงานไฟฟ้าขาย นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว “ทองลุน สีสุลิด” เยือนขอนแก่น พร้อมบรรยายพิเศษที่วิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มข. ลั่นสิ้นปี 2020 ลาวต้องหลุดพ้นจากประเทศด้อยพัฒนา และอีก 10 ปีหลังจากนั้นต้องก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางถึงสูง โดยรายได้หลักของชาติยังคงเป็นอุตสาหกรรมผลิตพลังงานไฟฟ้าขายให้เพื่อนบ้าน รายงานข่าวแจ้งว่า เมื่อหัวค่ำวันที่ 6 ก.ค.ที่ผ่านมา เวลาประมาณ 18.30 น. ที่ห้องประชุมพีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น(มข.) นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ได้บรรยายพิเศษในหัวข้อ “สปป. สู่อนาคตการพัฒนา” ในโอกาสที่เดินทางมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ โดยมีพ่อค้า นักธุรกิจ คณาจารย์และนักศึกษาเข้ารับฟังหลายร้อยคน ทั้งนี้ นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว กล่าวถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ สปป.ลาว ว่ายังดำเนินการตามแนวนโยบายพัฒนาชาติภายใต้ 17 แผนการหลัก เพื่อให้ สปป.ลาวหลุดพ้นจากประเทศที่ด้อยพัฒนาให้สำเร็จ ที่ผ่านมารัฐบาลได้ดำเนินการมาอย่างเต็มที่ และเปิดโอกาสให้กับนักธุรกิจจากต่างประเทศและภายในประเทศได้ลงทุนและทำ ธุรกิจเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนชาวลาว โดยแผนการในระยะแรกในปี 2018 จะมุ่งเน้นการทำวิจัยและศึกษาข้อมูลถึงความเป็นไปได้ในแนวทางการดำเนินงาน ทุกมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายให้แก่ประชาชนอย่างยั่งยืนและ เท่าเทียม และนำพา สปป.ลาวประกาศหลุดพ้นจากประเทศด้อยพัฒนาให้ได้ในปี 2020 และในปี 2025 สปป.ลาวจะก้าวสู่ประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลาง ซึ่งรายได้ของคนลาวต่อหัวต่อปีจะต้องไม่น้อยไปกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ และในปี 2030 สปป.ลาวจะเป็นประเทศที่มีรายได้ในระดับปานกลางถึงระดับสูง แผนการทั้งหมดได้ถูกกำหนดไว้ ซึ่งคณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันจะต้องร่วมกันดำเนินงานเพื่อสร้างอาชีพ สร้างงาน และเพิ่มสัดส่วนรายได้ให้แก่ประชาชนชาวลาวทั้ง 6 ล้านคนให้สำเร็จ นายทองลุนกล่าวต่อว่า มาเยือนไทยครั้งนี้ได้นำคณะฯ เข้าพบกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีของไทย ซึ่งลาวนั้นเป็นประเทศที่ผลิตพลังงานเพื่อจำหน่ายโดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้า ซึ่งในการหารือกับตัวแทนรัฐบาลไทย ลาวได้ขอร้องให้รัฐบาลไทยเพิ่มสัดส่วนการซื้อไฟฟ้าจากลาว จากเดิมปีละ 7,000 เมกะวัตต์ เป็น 10,000 เมกะวัตต์ ซึ่งที่ประชุมเห็นพ้องและสรุปตกลงกันที่รัฐบาลไทยจะซื้อไฟฟ้าจากลาวปีละ 9,000 เมกะวัตต์ ขณะที่การพัฒนาร่วมกันในด้านต่างๆ โดยเฉพาะโครงการรถไฟความเร็วสูง จีน-ลาว-ไทย ซึ่งลาวจะเริ่มการก่อสร้างในช่วงเดือน ธ.ค. 2559 นี้ ดังนั้นยังคงจะต้องขอแรงสนับสนุนจากรัฐบาลไทยในการดำเนินการตามโครงการดัง กล่าวเพื่อให้สามารถที่จะเชื่อมต่อทางรถไฟต่อกันให้ได้ทั้ง 3 ประเทศ “ขณะนี้ลาวเป็นประธานอาเซียน ก็จะมีการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานของทั้ง 10 ประเทศอย่างเต็มที่ และลาวพร้อมให้การสนับสนุนแผนงานขับเคลื่อนของกลุ่มประเทศตามลำน้ำโขง CLMVT อย่างเต็มความสามารถเช่นกัน เพื่อให้การดำเนินงานร่วมกันของทุกฝ่ายนั้นบรรลุข้อตกลงและเป็นไปในแนวทาง การพัฒนาร่วมกัน” นายทองลุนกล่าว และว่า ขณะที่การส่งเสริมการค้าและการลงทุนนั้น ลาวจะเป็นประเทศเชื่อมต่อหรือคนกลางในการประสานงานกับนานาประเทศในรูปแบบของ การเปิดกว้างและรับฟังในทุกรายละเอียด และแม้ว่าลาวจะไม่มีท่าเรือที่จะเป็นศูนย์กลางทางการขนส่ง แต่ลาวจะเป็นศูนย์กลางในการคมนาคมขนส่ง และมีจุดกระจายสินค้า หรือเรียกว่าท่าเรือบก ที่ใหญ่ที่สุดของอาเซียนในอนาคต อย่างไรก็ตาม สำหรับปมปัญหาและพื้นที่พิพาททับซ้อนระหว่างไทยกับลาว โดยเฉพาะตามแนวเขตชายแดนและพื้นที่ตามลำน้ำโขง รัฐบาลลาวให้การสนับสนุนในการร่วมสำรวจและกำหนดเขตแดนให้ชัดเจนเช่นกัน โดยขอร้องให้ไทยจัดส่งนักวิชาการ โดยเฉพาะจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นเข้าร่วมศึกษาในรายละเอียดต่างๆ สำหรับภารกิจของนายกรัฐมนตรีแห่ง สปป.ลาว ในพื้นที่ จ.ขอนแก่น นอกจากปาฐกถาพิเศษแล้วยังได้เข้ารับมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน รวมทั้งเยี่ยมชมและพบปะผู้ประกอบการไทยที่ประสบผลสำเร็จและลงทุนใน สปป.ลาว, การมอบเหรียญชัยมิตรภาพแก่คณะกรรมการสมาคมไทย-ลาว เพื่อมิตรภาพ การร่วมประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีของคนอีสาน หลังจากนั้น คณะของนายกรัฐมนตรี สปป.ลาวได้รับประทานอาหารค่ำร่วมกับคณะกรรมการสมาคมไทย-ลาว เพื่อมิตรภาพ, คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก่อนที่ทางคณะเดินทางกลับด้วยเที่ยวบินพิเศษของสายการบินลาว จากท่าอากาศยานขอนแก่นไปยังท่าอากาศยานวัดไต นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว
ໂຈນລາວແດງ ພວກສູຈະຂີ້ໂມ້ຂີ້ຕົວະໄປຮອດໃສ ປະຊາຊົນເຂົາເບື່ອຫນັງຫນ້າພວກສູແລ້ວ ມີແຕ່ເຂົາຈະໄລ່ພວກສູເຂົ້າຖໍ້າຊໍາເຫນືອຄືນ
ນີ້ແມ່ນສະພາບ ນ້ຳຖ້ວມຂັງ ຕອນຝົນຕົກເວລາປະມານ 15:30 ວັນທີ 8 ກໍລະກົດ 2016 ທີ່ເຂດ ສີແຍກ ໄຟແດງ ທາດຫຼວງ. ລະດັບນ້ຳແມ່ນສູງສົມຄວນ ເຮັດໃຫ້ລົດຈັກ ໄປບໍ່ໄດ້ ແລະ ລົດ ນ້ອຍກໍ່ມີບັນຫາ.
ບັນຫາຊ້ຳຊາກນີ້ ແກ່ຍາວມາຫລາຍປີແລ້ວ ເຂດ ສີແຍກ ໄຟແດງ ທາດຫຼວງ
ນ້ຳຕົກຕາດ ຄອນພະເພັງ ທີ່ເດີ່ນ ທາດຫລວງ ວຽງຈັນ
ປະຊາຊົນ ຖືກນ້ຳຖວ້ມ ແຕ່ທອງລຸນ ຟອ້ງລຳວົງຈຸ້ຍ........!5555555
wrote:ນີ້ແມ່ນສະພາບ ນ້ຳຖ້ວມຂັງ ຕອນຝົນຕົກເວລາປະມານ 15:30 ວັນທີ 8 ກໍລະກົດ 2016 ທີ່ເຂດ ສີແຍກ ໄຟແດງ ທາດຫຼວງ. ລະດັບນ້ຳແມ່ນສູງສົມຄວນ ເຮັດໃຫ້ລົດຈັກ ໄປບໍ່ໄດ້ ແລະ ລົດ ນ້ອຍກໍ່ມີບັນຫາ.ບັນຫາຊ້ຳຊາກນີ້ ແກ່ຍາວມາຫລາຍປີແລ້ວ ເຂດ ສີແຍກ ໄຟແດງ ທາດຫຼວງ ນ້ຳຕົກຕາດ ຄອນພະເພັງ ທີ່ເດີ່ນ ທາດຫລວງ ວຽງຈັນ
ຄົງຈະແມ່ນຟ້າແຖນຮັບຮູ້ຄວາມໂດດເດັ່ນໃນເວທີສາກົນຂອງການນຳສະຫຼາດສ່ອງຕົວະຂອງການນຳ ສປປ.ລາວ ຂີ້ຂ້າແກວ
ກໍ່ເລີຍຍ່ຽວຮວດຮວຍລົງມາຊື່ນຊົມການບໍຣິຫານຕົວເມືອງຂອງ ດລ(ດາກລີງ)ແລະ ສຈ(ສີ້ຈຸ່ມ)ຫີແກວເຖົ້າເມຍການນຳແກວ
ຫ່ານອຍ.ຢ່າໄປຟ້ອນຕາຍແຕ່ລຳວົງຢູ່ຫັ້ນຫຼາຍທອງລຸນເອີຍ ໄປເບິ່ງຣຽນເອົາຄວາມຮູ້ການບໍຣິຫານຕົວເມືອງ ແລະ ຈັດການ
ນໍ້າແດ່ເພື່ອມາແກ້ບັນຫານໍ້າຖ້ວມຂັງນີ້ໃຫ້ໄດ້ກ່ອນຈະໄປຮອດຄວາມໂມ້ຂອງໂຕວ່າຈະໃຫ້ລາວຫຼຸດພົ້ນຈາກປະເທດ
ດ້ອຍພັດທະນາ 2020 ຫັ້ນນາ.ຖ້າແກ້ບັນຫາຂີ້ເປັດແບບນີ້ບໍ່ໄດ້ແລ້ວ 2020 ທີ່ໂຕເວົ້າຫັ້ນກະສິແມ່ນຝັນກາງເວັ້ນລະເນີ.
wrote:ປະຊາຊົນ ຖືກນ້ຳຖວ້ມ ແຕ່ທອງລຸນ ຟອ້ງລຳວົງຈຸ້ຍ........!5555555
ນີ້ຄືຜເດັດການສອງຝັ່ງຂອງສ້າງຄວາມເຮຮາຟ້າລັ່ນບົນຄວາມລຳບາກຍາກແຄ້ນແກ່ປະຊາຊົນສອງຊາດ ລາວ-ໄທຍ໌.
ຂໍໃຫ້ປະຊາຊົນຈົ່ງມີໄຊໃນການຂັບໄລ່ຜເດັດການອອກຈາກສ່ວນນີ້ຂອງໂລກຢ່າງໄວ້.ຜເດັດການຈົນດັບວາຍຢ່າງທັນທີ.
ສະຫາຍ...ອົມຫຍັງມາເວົ້າ ?
ການອ້າງເອົາພຽງໂຕເລກ GDP - ລາຍໄດ້ຂອງປະຊາກອນຕໍ່ຄົນຕໍ່ປີ - ມັນບໍ່ໄດ້ມີຄວາມສຳຄັນຫຍັງ
ມັນບໍ່ໄດ້ສະທ້ອນເຖິງຄວາມເປັນຈິງ ກ່ຽວກັບການຢູ່ດີກິນດີຂອງປະຊາຊົນ.
ໂຕເລກທາງດ້ານສະຖິຕິ ມີຫລາຍແບບ ແລະຕ້ອງໄດ້ມີການອະທິບາຍກັນໃຫ້ແຈ່ມແຈ້ງ
ບໍ່ດັ່ງນັ້ນຕົວເລກບາງອັນກໍຈະຖືກເອົາມາ ເປັນເຄື່ອງມືໂຄສະນາຂອງກຸ່ມການນຳ ດັ່ງທີ່ເຄີຍເຫັນ ທີ່ເຄີຍເປັນມາ.
ຕົວຢ່າງ :
ລາຍໄດ້ລາຍຮັບທັງຫມົດທີ່ທາງ ສປປລ ຫາໄດ້ - ຈາກການລົງທຶນຂອງຕ່າງປະເທດ...ຈາກການຂາຍຊັບພະຍາກອນຂອງຊາດ (ບໍ່ແຮ່ ປ່າໄມ້ ແລະ ອື່ນ ໆ) -
ມີຢູ່ US $7,000 ລ້ານ ---> ມີປະຊາກອນລາວໃນປະເທດ 7 ລ້ານ ຄົນ ແລ້ວປະກາດວ່າ ປະຊາຊົນລາວມີລາຍໄດ້ US $1,000.00 ຕໍ່ຄົນຕໍ່ປີ.
-----------> US $7,000 ລ້ານ / 7 ລ້ານຄົນ = US $1,000.00
ແຕ່ຫາກເບິ່ງຄວາມເປັນຈິງແລ້ວ ປະຊາຊົນແຕ່ລະຄົນແມ່ນມີລາຍໄດ້ຮອດ US $1,000.00 ຕາມທີ່ເວົ້າຫລືບໍ່ ?
ສະຫາຍນາຍົກ ທອງລຸນ ຍັງອອກໄປເລາະປະກາດວ່າ ອີກ 4 ປີຂ້າງຫນ້າ ປຊຊ ລາວຈະມີລາຍໄດ້ເພີ້ມຂື້ນເປັນເຖິງ US $7,000.00 ຕໍ່ຄົນຕໍ່ປີ ໂດຍອ້າງອິງໃສ່ໂຕເລກ
ທີ່ຈະໄດ້ມາຈາກການເພີ້ມຂື້ນຂອງການລົງທຶນຂອງຕ່າງປະເທດໃນດ້ານ ຂຸດບໍ່ແຮ່ ສ້າງເຂື່ອນໄຟຟ້າ ແລະ ດ້ານອື່ນ ໆ.
ຫມາຍຄວາມວ່າ ຄອບຄົວໃດມີຫລາຍຄົນ ຄອບຄົວນັ້ນກໍຈະມີລາຍໄດ້ຢ່າງຫລວງຫລາຍ....
ສະຫາຍ ທອງລຸນ ຄົງຈະເອົາໂຕເລກແບບດັ່ງກ່າວ ມາໃຊ້ເປັນໂຕເລກທາງການ ຊຶ່ງມັນເປັນການຄຶດແບບງ່າຍໆ ໂດຍບໍ່ໄດ້ລົງເລິກເຖິງຄວາມຫຍຸ້ງຍາກແລະການຜັນແປທາງດ້ານເສດຖະກິດໃນໂລກ.
ການນຳຂອງລາວ ຖືກພວກພໍ່ຄ້າຫນ້າເລຶອດ ຫລອກຕົ້ມມາແລ້ວໂດຍບໍ່ຮູ້ສຶກໂຕ ແລະກໍຍັງຄົງປ່ອຍໃຫ້ພວກເຂົາເຫລົ່ານັ້ນຫລອກຕົ້ມອີກຕໍ່ໄປ
ແຕ່ກຸ່ມການນຳຈຳພວກນີ້ ຈະຍັງເຮັດອີກຕໍ່ໄປກໍເພາະວ່າ ພວກເຂົາໄດ້ຮັບຄ່າຊື້ຈ້າງຈອບອອຍ ຮັບກິນສິນບົນ ແລ້ວຄອບຄົວແລະພັກພວກກໍຮັ່ງມີລ້ຳລວຍກັນຢ່າງມະຫາສານ.
ສ່ວນພວກພໍ່ຄ້າກໍຈະໄດ້ກຳໄລອັນມະຫາສານ ຈາກການຜັນລາຄາໃນຕະຫຼາດໂລກໃຫ້ຕ່ຳລົງ ແລ້ວພາກັນກວ້ານຊື້ເອົາບໍ່ແຮ່ ຂອງລາວອອກໄປໃນລາຄາຖືກໆ...
ທຸກຄົນກໍຄົງຈະເຫັນມາແລ້ວ ຈາກການຂຸດບໍ່ຄຳ ແລະ ການປູກຢ່າງພາລາ ໃນລາວ.
Anonymous wrote:ສະຫາຍ...ອົມຫຍັງມາເວົ້າ ?
ຂ້ອຍອົມຂີ້ມາເວົ້າ ເພາະຂອ້ຍເປັນຄົນທີ່ສະຫລາດສ່ອງໃສ
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ສະຫາຍ...ອົມຫຍັງມາເວົ້າ ? ຂ້ອຍອົມຂີ້ມາເວົ້າ ເພາະຂອ້ຍເປັນຄົນທີ່ສະຫລາດສ່ອງໃສ
ສະຫາຍເວົ້າຫັຽງໄປກໍ່ໃຫ້ມັນຢູ່ໃນເຫດໃນຜົນ ແລະ ຄວາມຈິງແດ່.ບໍ່ຮູ້ຄັກຢ່າເວົ້າໄປໂລເລ.
ຖ້າຢາກຮູ້ຄວາມຈິງເຮົາທອງລຸນ ສິບອກໃຫ້ ຄືວ່າເນາະສະຫາຍເນາະລະແມ່ນວ່າເນາະ ເຮົາ
ໄດ້ໄປອົມແຕດເມຍຜູ້ນຳແກວ ຫ່ານອຍ ແລ້ວມາເວົ້າ ແລະ ເຂົາກໍ່ບອກໃຫ້ໄປເວົ້າແນວນີ້ເດ.